กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2291
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชัยยศ ชาวระนอง
dc.contributor.authorไพรัตน์ วงษ์นาม
dc.contributor.authorสมศักดิ์ ลิลา
dc.contributor.authorสุรีพร อนุศาสนนันท์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:41Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:41Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2291
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของโมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่ง องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งแฝงภายใน องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสองแฝงภายใน และการทดสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อสอบโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสองแฝงภายใน ภายใต้เงื่อนไขกลุ่มตัวอย่างขนาด 100, 200, 400, 800, 1,200, 1,600 และ 2,000 คน จำนวนข้อสอบ 3, 5, 8, 10 และ 15 ข้อต่อองค์ประกอบ และขนาดกลุ่มตัวอย่างในการทดสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อสอบขนาด 1,600, 2000, 2,400, 2,800, 3,200, 3,600 และ 4,000 คน ซึ่งเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดบุรีรัมย์ เขต 2 จากการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติปี พ.ศ. 2548 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงบรรยายใช้โปรแกรม SPSS for Windows Version 16.0 การหาคุณภาพแบบทดสอบใช้โปรแกรม BILOG MG 3.0 การวิเคราะห์องค์ประกอบใช้โปรแกรม AMOS 16.0 และการทดสอบค่าความเชื่อมั่น G – COEFFICENT ใช้โปรแกรม GENOVA ผลการวิจัยพบว่า โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสองแฝงภายในมีประสิทธิภาพมากที่สุด โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์เมื่อไม่มีการปรับโมเดลอยู่ในระดับดี โดยพิจารณาจากค่าดัชนีวัดความสอดคล้องของโมเดล ซึ่งพบว่าค่า=1658.181, df = 1130, p = .000, GFI = .919, AGFI= .909, CFI = .643 และ RMSEA = .024 เมื่อใช้กลุ่มตัวอย่างตั้งแต่ 800 ตัวอย่างขึ้นไป และเมื่อพิจารณาตามขนาดของกลุ่มตัวอย่างพบว่า ค่าดัชนีวัดความสอดคล้องไค-สแควร์ ไม่แปรเปลี่ยนตามขนาดกลุ่มตัวอย่างแต่แปรเปลี่ยนตามจำนวนข้อสอบต่อองค์ประกอบ 2. การตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อสอบโดยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสองแฝงภายในจำแนกตามเพศโดยใช้เทคนิค Multi-Group พบว่ามีข้อสอบทำหน้าที่ต่างกัน 5 ข้อ และเมื่อตัดข้อสอบที่ทำหน้าที่ ต่างกันออกพบว่าค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นของข้อสอบสูงขึ้นth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์ตัวประกอบth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์พหุระดับth_TH
dc.subjectข้อสอบth_TH
dc.subjectสถิติวิเคราะห์th_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleประสิทธิภาพของโมเดลและการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อสอบ พหุมิติโดยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันแฝงภายในth_TH
dc.title.alternativeEfficiency of model and detecting differential multidimentional items functioning by nested confirmatory factor analysisen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume22
dc.year2553
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the efficiency of model first-order factor analysis, second-order factor analysis, nested first-order factor analysis and nested second-order factor analysis and detecting differential items functioning by second-order factor analysis method under the conditions of 7 sample sizes (100, 200, 400, 800, 1,200, 1,600 and 2,000) 5 test- items per factor (3, 5, 8, 10, and 15) and 7 sample sizes for detecting differential items functioning (1,600, 2000, 2,400, 2,800, 3,200, 3,600 และ 4,000). The sample consisted of 4,000 third grade three students under the Basic Education Commission office, Burirum Province Area II in academic year 2005 who entered the national achievement test. Descriptive statistics were devised by SPSS, Quality of items analysis by BILOG MG 3.0, while a confirmatory factor analysis by AMOS 16.0 and the G – Coefficient by GENOVA. The results were as follows: 1) The nested second-order factor model was found of having the most efficiency as another model. The validity of model provided=1658.181, df = 1130, p = .000, GFI = .919, AGFI = .909, CFI = .643 and RMSEA = .024. These indices indicator goodness of fit was at good level when sample size was more than 800. When considering the sample size, it was found that there was no variation Chi-square indicator but sample size was validated on the test items per factor. 2) The detecting differential items functioning classified by sex to second-order factor analysis method by multi-Group technical, it was found that there was five test items differential items functioning. After the deleting the items, the G – coefficient showed more reliability than before testing by GENOVA.en
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education
dc.page23-35.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
23-35.pdf4.98 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น