กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2289
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอดุลย์ คำมิตร
dc.contributor.authorมณเทียร ชมดอกไม้
dc.contributor.authorปริญญา ทองสอน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:41Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:41Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2289
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดการเรียนการสอนที่เน้นวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ และเทคนิคเอสคิวสามอาร์ เรื่องสารและสมบัติของสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยตั้งค่าเป้าหมาย E1/E2 = 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่องสารและสมบัติของสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการใช้ชุดการเรียนการสอน และ 3) ศึกษาจิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการเรียนการสอนด้วยชุดการเรียนการสอนที่เน้นวิธีสอนแบบสืบ เสาะหาความรู้ และเทคนิคเอสคิวสามอาร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนวัดราษฎร์ศรัทธาทำ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1 จำนวน 37 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ ชุดการเรียนการสอน เรื่องและสมบัติของสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาศาสตร์ เรื่องสารและสมบัติของสารชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และแบบวัดจิตวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test – Dependent ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. ชุดการเรียนการสอนที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพ 82.81/83.15 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้โดยชุดการเรียนการสอนแต่ละชุดมีประสิทธิภาพเรียงตามลำดับดังนี้ 86.55, 84.92, 80.03, 82.37 และ 80.20 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เรื่องสารและสมบัติของสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่าคะแนนหลังเรียนด้วยชุดการเรียนการสอนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. จิตวิทศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการเรียนด้วยชุดการเรียนการสอนที่เน้นวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้และเทคนิคเอสคิวสามอาร์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectการสอนแบบสืบสวนสอบสวนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ - - การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ - - การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการเรียนการสอนที่เน้นวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้และเทคนิคเอสคิวสามอาร์ เรื่องสารและสมบัติของสารสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume7
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to develop the instructional package focus on inquiry method and SQ3R technique on the topic substance and their property for prathomsuksa 6 students having efficiency according to the standard criterion 80/80; 2) to compare the achievement in science process on the topic substance and their property for prathomsuksa 6 students between the pretest and the posttest of using the instructional package; and 3X to study scientific mind of prathomsuksa 6 students by using the instructional package. The sample in this research was the prathomsuksa 6 students during the second semester of the academic year 2010 of Watrajsatthatham school, Area Office of Elementary Chachoengsao, Area 1. chosen by cluster sampling. The instruments were used in this study consisted of the science instructional package focus on inquiry method and SQ3R technique on the topic substance and their property for prathomsuksa 6 students, the science was achievement test, and scientific mind test. The data were statistically analyzed by mean, standard deviation and t-test – dependent. The results were indicated that: 1. The development of instructional package was efficiency at 82.81/83.15 under 80/80 criterion. Each unit had efficiency at 86.55, 84.92, 80.03, 83.37 and 80.20 sequentially. 2. Posttest scores of the science on the topic substance and their property for prathomsuksa 6 students learning achievement of instructional package were significantly higher than those of pretest ones at the .01 level. 3. Scientific mind of students were taught by using instructional package focus on inquiry method and SQ3R technique were ranked at the high level.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of Education and Social Development
dc.page96-107.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p96-107.pdf4.22 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น