กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2281
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorรวีวรรณ อังคนุรักษ์พันธุ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ"
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:41Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:41Z
dc.date.issued2547
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2281
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการแก้ระบบสมการ โดยใช้สื่อกระดานกราฟแม่เหล็กกับการสอนแบบปกติ ของนักเรียนมัธยมศึกษา ปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิต “พิบูลบำเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 80 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 40 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการสอน จำนวน 4 แผน ประกอบด้วย แบบฝึกทักษะกระบวนการแก้ระบบสมการ จำนวน 2 ชุด ใบงาน จำนวน 2 ชุด และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้แบบฝึกทักษะกระบวนการแก้ระบบสมการ โดยใช้สื่อกระดานกราฟแม่เหล็กกับการสอนแบบปกติ สร้างเป็นแบบทดสอบคู่ขนาน จำนวน 2 ฉบับ ๆ ละ จำนวน 10 ข้อ คุณภาพของแบบทดสอบมีค่าความยากรายข้ออยู่ระหว่าง .50-.80 และ .28-.78 ค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .20-.50 และ .20-.68 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t แบบอิสระ (Independent t-test) ผลการวิจัย พบว่า 1. แบบฝึกทักษะกระบวนการแก้ระบบสมการ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.15/83.50 2. ทักษะกระบวนการแก้ระบบสมการ โดยใช้สื่อกระดานกราฟแม่เหล็กกับการสอนแบบปกติ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) 3. ทักษะกระบวนการแก้ระบบสมการ โดยใช้สื่อกระดานกราฟ แม่เหล็กกับการสอนแบบปกติ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำแนกตามเพศ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการแก้โจทย์สมการth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์ - - การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์ - - การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectสมการth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบทักษะกระบวนการแก้ระบบสมการโดยใช้สื่อกระดานกราฟแม่เหล็กกับการสอนแบบปกติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3th_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume16
dc.year2547
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare skill buiding exercises on equation systems between using magnetic graph board and the traditional method for mathayomsuksa III students. The sample, derived by means of cluster random sampling, consisted of 80 mathayomsuksa III students of the academic year 2002 of “Piboonbumpen” Demonstration School, Burapha University by using an experimental group of 40 students and a control grop of 40 students. The instruments used in the research were 4 lesson plans consisting of 2 skill building exercises, 2 worksheets and 2 parallel achievement test forms, each test had 10 items. After using skill building exercises on equation systems between using magnetic graph board and the traditional teaching method, the quality of test had a difficulty between .50-.80 and .28-.78, discrimination between .20-.50 and .20-.68 respectively. Data were analyzed by mean, standard deviation and independent t-test. The results found that : 1. The skill building exercises on equation systems had the efficiency equal to 82.15/83.50. 2. The skill building exercises on equation systems between using magnetic graph board and the traditional teaching method in mathayomsuksa III students of the experimental group and control group was significantly different (p<.05). 3. In the study of skill building exercises on equayion systems between using magnetic graph board and the traditional teaching method in mathayomsuksa III students revealed that there were significant differences (p<.05) between the experimental group and control group according to gender.en
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of Education
dc.page95-105.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p95-106.pdf10.89 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น