กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/226
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกล่าวขวัญ ศรีสุขth
dc.contributor.authorเอกรัฐ ศรีสุขth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:20Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:20Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/226
dc.description.abstractสำมะง่าและเบญจมาศน้ำเค็มเป็นพืชสมุนไพรที่ใช้ในทางการแพทย์พื้นบ้านในแถบลุ่มน้ำเวฬุ จังหวัดจันทบุรี เพื่อรักษาโรคต่างๆ (เฮกเซน เอทิลอะซิเตท และน้ำ) ของส่วนสกัดเอทานอลของใบสำมะง่าและใบเบญจมาศน้ำเค็มต่อการผลิตไนตริกออกไซด์ในเซลล์แมคโครฟาจหนู RAW 264.7 ที่กระตุ้นด้วย LPS พบว่าส่วนสกัดย่อยเอทิลอะซิเตทของพืชทั้ง 2 ชนิด สามารถยับยั้งการผลิตไนตริกออกไซด์ได้ดีที่สุดโดยไม่แสดงความเป็นพิษต่อต่อเซลล์ (ค่า IC(50) เท่ากับ 32.93 ± 3.95 µg/mL และ 54.47 ± 11.01 µg/mL สำหรับสำมะง่าและเบญจมาศน้ำเค็มตามลำดับ) นอกจากนี้ส่วนสกัดเอทิลอะซิเตทของใบสำมะง่ายังสามารถยับยั้งการแสดงอกกของ mRNA และโปรตีนของเอนไซม์ inducible nitric oxide synthase (iNOS) ในลักษณะที่ขึ้นกับความเข้มข้นรวมทั้งการเคลื่อนที่ของ p65 NF-KB เข้าสู่นิวเคลียสในเซลล์ RAW264.7 ที่กระตุ้นด้วย LPS ยิ่งไปกว่านั้นส่วนสกัดย่อยเอทิลอะซิเตทของสำมะง่ายังแสดงฤทธิ์ลดการผลิตโพรสตาแกลนดิน E(2) ผลการทดลองนี้แสดงให้เห็นว่าส่วนสกัดจากใบสำมะง่าและใบเบญจมาศน้ำเค็มมีคุณสมบัติต้านการอักเสบโดยยับยั้งการผลิตไนตริกออกไซด์ในหลอดทดลองth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับเงินอุดหนุนทุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) งบประมาณปี 2554en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการรักษาด้วยสมุนไพรth_TH
dc.subjectการอักเสบth_TH
dc.subjectสมุนไพรth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleการศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบของสมุนไพรป่าชายเลนลุ่มแม่น้ำเวฬุth_TH
dc.title.alternativeInvestigation of anti-inflammatory activity of medicinal plants from Welu wetlanden
dc.typeResearch
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeClerodendrum inerme (L.) DC are medicinal plants which commonly used in traditional medicine in Wclu wetlwnd, Chantaburi province to treat various diseases including inflammation. In this study, the various (hcxane, ethyl acetate and water) of ethanol extracts of C. inerme and W. biflora were investigated the inhibitory effects on nitric oxide (NO) production in LPS stimulated mouse macrophage cell line RAW 264.7. Among solvent fractions, the ethyl acetate fraction (50 µg/mL) of both plants were the most potent inhibitory activities without cytotoxic effect (IC(50) value of 32.93 ± 3.95 µg/mL and 54.47 ± 11.01 µg/mL for C. inerme and W. biflora, respective). In addition, the ethyl acetate fraction of C. inerme suppressed the mRNA and protein expressions of inducible nitric oxide synthase (iNOS) as well as p65 NF-KB nuclear translocation in LPS stimulated RAW264.7 cells. Furthermore, ethyl acetate fraction of C. inerme could inhibit prostaglandin E(2) production. The obtained reveal that leaf extracts of C. inerme and W. biflora possess anti-inflammatory properties through the suppression of nitric oxide production in vitro.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น