กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2269
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศรีวรรณ มีคุณ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:40Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:40Z
dc.date.issued2547
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2269
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารโครงการเรียนรู้ร่วมกันสรรค์สร้างชุมชน ทบวงมหาวิทยาลัย และเปรียบเทียบปัญหาการบริหารโครงการเรียนรู้ร่วมกันสรรค์สร้างชุมชน จำแนกตามประเภทสถาบันและพื้นที่ปฏิบัติงาน รวมทั้งเพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จากผู้รับผิดชอบโครงการกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ผู้รับผิดชอบโครงการเรียนรู้ร่วมกัน สรรค์สร้างชุมชนจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ จำนวน 93 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามพื้นที่ปฏิบัติงาน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 50 ข้อ และคำถามปลายเปิดสำหรับข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ, คะแนนเฉลี่ย, ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน, การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการทดสอบความแตกต่างรายคู่โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for windows ในการวิเคราะห์ข้อมูลผลการวิจัยพบว่าปัญหาการบริหารโครงการเรียนรู้ร่วมกัน สรรค์สร้างชุมชนในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อเปรียบเทียบปัญหาจำแนกตามประเภทสถาบันและพื้นที่ปฏิบัติงานพบว่าปัญหาการบริหารโครงการเรียนรู้ร่วมกัน สรรค์สร้างชุมชน จำแนกตามประเภทสถาบันแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ และจำแนกตามพื้นที่ปฏิบัติงานพบว่าปัญหาโดยรวมและรายด้าน 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดสรรทรัพยากรและด้านการประเมินผลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ข้อเสนอแนะของผู้รับผิดชอบโครงการส่วนใหญ่ต้องการให้มีการปรับปรุงในด้านการวางแผน การประเมินผลและการจัดสรรทรัพยากรth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการศึกษา - - การบริหารth_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleปัญหาและข้อเสนอแนะการบริหารโครงการเรียนรู้ร่วมกันสรรค์สร้างชุมชนth_TH
dc.title.alternativeProblems and Suggestion on Administration of the Project on Learning Together, Improving our Communityen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume15
dc.year2547
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to determine administrative problems of The Project on Learning Together, Improving Our Community under the Ministry of University Affairs and to compare the administrative problems classified by types of institutions and working areas, including to muster the suggestions for solving problems from the project managersThe sample used in this study consisted of 93 project managers from higher institutions throughout Thailand A rating scale questionnair was used to determine the administrative problems of the Project on Learning Together, Improving Our Community. The questionnair was composed of 50 items, including some open-ended questions. Data were analyzed in terms of percentage, arithmetic mean, standard deviation, one-way analysis of variance amd least significant difference using the computer program of SPSS for windows.The results of this study revealed that overall administrative problems of the Project on Learning Together, Improving Our Community were rated at moderate level. the comparison of the problems classified by types of institutions and eorking areas showed that :1. There was non-significant difference among four types of institutions2. There were significant difference among six working areas in overall administrative problems and in the aspects of resource allocation and evaluation (p<.05)Most of the suggestions from project managers were about the improving of planning, evaluation and resource allocationen
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of Education
dc.page49-64.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p49-64.pdf11.24 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น