กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2261
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุรีพร อนุศาสนนันท์
dc.contributor.authorสุชาติ ใจสถาน
dc.contributor.authorไพรัตน์ วงษ์นาม
dc.contributor.authorอิทธิฤทธิ์ พงษ์ปิยะรัตน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:40Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:40Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2261
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบวัดจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสวารสำหรับนักเรียน ตรวจสอบคุณภาพและสร้างปกติวิสัยของแบบวัดจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับนักเรียนที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย เป็นนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 (มันธยมศึกษาปีที่ 1-3) ปีการศึกษา 2552 ของโณงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 และ เขต 2 จำนวน 3,82 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน แบบวัดจริยธรรมที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือความเป็นส่วนตัว ความถูกต้อง ความเป็นเจ้าของ และการเข้าถึงข้อมูล ตรวจสอบคุณภาพ ด้วยการตรวจสอบความตรง (Validity) ได้แก่ ความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) การทำหน้าที่ต่างกันของข้อคำถาม (Different Item Functioning: DIF) ความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) ตรวจสอบอำนาจจำแนก ตามโมเดล GRM (Graded Response Model) และตรวจสอบความเที่ยง (Reliability) ด้วยการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิง (G-Coefficient) ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบวัดจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่พัฒนาขึ้น มีจำนวนข้อคำถาม 37 ข้อ ได้แก่ ความเป็นส่วนตัว 11 ข้อ ความถูกต้อง 11 ข้อ ความเป็นเจ้าของ 7 ข้อ และการเข้าถึงข้อมูล 8 ข้อ 2) คุณภาพของแบบวัดจริยธรรมที่พัฒนาขึ้น มีคุณภาพด้านความตรงคือ ความตรงเชิงเนื้อหา มีค่ามัธยฐานระหว่าง 4.00 ถึง 5.00 พิสัยระหว่างควอไทล์ มีค่าระหว่าง0.00-1.00 และดัชนีการทำหน้าที่ต่างกันของข้อคำถาม มีค่าระหว่าง -0.053 ถึง 0.154 ความตรงเชิงโครงสร้าง พบว่า โมเดลองค์ประกอบของจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ข้อคำถามทั้ง 37 ข้อมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 พารามิเตอร์อำนาจจำแนกมีค่าระหว่าง 0.31 ถึง 4.08 สัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิง (G-Coefficient) ทั้งฉบับเท่ากับ 0.928 เมื่อพิจารณาเป็นรายองค์ประกอบได้แก่ ความเป็นส่วนตัว ความถูกต้อง ความเป็นเจ้าของ และการเข้าถึงข้อมูล มีค่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิงเท่ากับ 0.825, 0.812, 0.784 และ 0.830 ตามลำดับ 3) ปกติวิสัยของแบบวัดจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จัดทำเป็น 3 ระดับได้แก่ จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระดับสูง มีตำแหน่งเปอร์เซนไทล์ระหว่าง 78.0-100.0 (สเตไรร์ที่ 7-9) ระดับปานกลาง มีตำแหน่งเปอร์เซนไทล์ ระหว่าง 24.0-77.9 (สเตไนน์ที่ 4-6) และนักเรียนที่มีจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระดับควรได้รับการแก้ไขมีตำแหน่งเปอร์เซนไทลล์ระหว่าง 0-23.9 (สเตไนน์ที่ 1-3)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectจริยธรรมth_TH
dc.subjectแบบสอบถาม - - ความเที่ยงth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศth_TH
dc.subjectแบบสอบถาม - - ความตรงth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบวัดจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับนักเรียนth_TH
dc.title.alternativeA development of an information and communication technology ethic test for studentsen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue3
dc.volume21
dc.year2553
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1) to develop the information and communication technology ethic test for student. 2) to verify quality and 3) to construct he norms of the information and communication technology ethic test for students. The samples were 3,872 students selected by two-stage random sampling technique. The students selected were studying in grade 7 to 9 (Mattayomsuksa 1-3) under the jurisdiction of the Office of Education area 1 and 2 Samutprakan province in the 2009 academic year. The test was designed to four component namely, Privacy, Accuracy, Property and Accessibility. The quality of the test consisted of validity: content validity, differential item functioning, construct validity. Discrimination parameter by Graded Response Model (GRM)and reliability Coefficient (G- Coefficient) The finding were as follows: 1) The information and communication technology ethic test for students consisted of 37 Items. There were 11 items of Privacy, 11 items of Accuracy, 7items of Property and 8 items of Accessibility. 2) The quality of test was validity consisted of (1) content validity: all items had a median (Mdn) of 4.00 to 5.00, with an inter-quartile rang (IQR) of 0.00 to 1.00, (2) The index of differential item functioning was from -0.053 to 0.154 and (3) The construct validity of the information and communication technology ethic test for student had corresponded to the empirical data. All of 37 items had significant of the test was 0.928 while the G-Coefficient of each factors namely Privacy, Accuracy, Property of the test was 0.825, 0.812, 0.784 and 0.830 respectively. 3) The norms of the test were divided into 3 levels: percentile rank between 78.0 to 100.0 (stanine) 7 to 9 indicating high level of ethic; percentile rank between 24.0 to 77.9 (stanine 4 to 6) indicating normal ethic and percentile rank between 0.0 to 23.9 (stanine1 to 3) indicating rectification should be done.en
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education
dc.page25-40.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
KC4908013.pdf184.22 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น