กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2241
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอนงค์ วิเศษสุวรรณ์
dc.contributor.authorศุภชัย บุญรักษา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:49Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:49Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2241
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของกลุ่มจิตสัมพันธ์ต่อความครุ่นคิดเกี่ยวกับตน ด้านการแสดงลักษณะความเป็นชายและหญิงของวัยรุ่นชาย อายุ 13-18 ปี ที่แสดงลักษณะความเป็นเพศชายและหญิงตรงข้ามกับลักษณะทางเพศของตน โดยคัดเลือกจากการตอบแบบประเมินความรู้สึกเกี่ยวกับตนเองด้านการแสดงลักษณะความเป็นชายและหญิงแล้วทำการทำความรุ่นคิดเกี่ยวกับตน โดยใช้มาตราวัดการสำนึกตนซึ่งพัฒนาจาก Self-Consciousness Scale ของ Fenigstein, Scherier and Buss (1975) ผู้ที่มีคะแนนความครุ่นคิดเกี่ยวกับตน (High Self-Consciousness) ในระดับค่าคะแนนที่สูงกว่า เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 75 ของคะแนนทั้งหมด และสมัครใจเข้าร่วมการวิจัย จำนวน 16 คน สุ่มเข้ากลุ่มทดลอง ได้รับการเข้ากลุ่มจิตสัมพันธ์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ แบบประเมินความรู้สึกเกี่ยวกับตนเองด้านการแสดงลักษณะความเป็นชายและหญิงที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมาตรวัดการสำนึกตน และโปรแกรมกลุ่มจิตสัมพันธ์ ทำการทดลองโดยจัดกลุ่ม จิตสัมพันธ์ 3 ครั้ง ๆ ละ 6 ชั่งโมง รวม 18 ชั่วโมง การทดลองแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผลสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำประเภทหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่ม และหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่มและทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีนิวแมน-คูลส์ การวิจัยพบว่า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 วัยรุ่นในกลุ่มที่เข้ากลุ่มจิตสัมพันธ์มีค่าคะแนนความรุ่นคิดเกี่ยวกับตนในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผล ต่ำกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คะแนนความรุ่นคิดเกี่ยวกับตนในกลุ่มทดลองระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลต่ำกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectกลุ่มจิตสัมพันธ์th_TH
dc.subjectความครุ่นคิดเกี่ยวกับตนเองth_TH
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลth_TH
dc.subjectจิตวิทยาวัยรุ่นth_TH
dc.subjectตนเอง (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectวัยรุ่นth_TH
dc.subjectสาขาสังคมวิทยาth_TH
dc.titleผลของกลุ่มจิตสัมพันธ์ต่อความครุ่นคิดเกี่ยวกับตนด้านการแสดงลักษณะความเป็นชายและหญิงของวัยรุ่นth_TH
dc.title.alternativeThe effects of encounter group on high self-consciousness of adolescents with alternative gender preferencesen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume2
dc.year2549
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of encounter group on high self-consciousness of adolescents with adolescents with alternative gender preferences. The sample consisted of sixteen adolescents with alternative gender preferences between 13-18 yeas who scored above 75 percentile from total scored on self-consciousness scale. The sample was randomly assigned into a control group and an experimental group, eight in eight in each group. The experimental group was treated with encounter group. The instruments used in this study was the Adolescents with Alternative Gender Preferences Scale, the Self-Consciousness Scale developed from the Self-Consciousness Scale of Fenigstein, Scheier and buss (1975), and the Encounter Group Program. Three sessions of experiment were conducted, six hours for each session, total of 18 hours. The data collection procedure was divided into three phases: the pre-test, the post-test and follow-up. The data were analyzed by repeated-measure analysis of variance: one between-subjects and one within-subjects variable, and the Newman- Keuls procedure. Results revealed that there was a statistically signification at .05 level between the methods and the duration of the experiment. Adolescents who participated in Encounter group had lower score on the high self-consciousness in the post-test and the follow-up phases then adolescents in the follow-up phases than adolescents in the control group at the .05 statistical significance. Participants in the experimental group had lower score on high self-consciousness in the post-test and the follow-up phases with a statistical significance at .05.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of Education and Social Development
dc.page39-56.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p39-56.pdf21.26 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น