กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2222
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวสันต์ เหลืองประภัสร์
dc.contributor.authorกัญญาภัค อยู่เมือง
dc.contributor.authorเบ็ญจมาภรณ์ ธนธรรมรัตน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:47Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:47Z
dc.date.issued2548
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2222
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเพื่อติดตามและประเมินผลการกระจายอำนาจไปสู่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ภายในพื้นที่ ตรวจราชการเขต ๓ ซึ่งประกอบไปด้วย ๗ จังหวัดในภาคตะวันออก ได้แก่ จังหวัดฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๔๗ เพื่อประเมินถึงความก้าวหน้าและประเด็นปัญหาตางๆ ในการกระจายอำนาจไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามเจตนารมณ์แห่งรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งจากการศึกษา พบว่า ความก้าวหน้าของการกระจายอำนาจนั้นดำเนินไปอย่างจำกัดมาก การถ่ายโอนภารกิจหน้าที่ต่างๆ เกิดความสำเร็จแต่เพียงบางด้าน หัวใจสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้การถ่ายโอนภารกิจและทรัพยากรต่างๆ เป็นไปอย่างล่าช้าและประสบกับอุปสรรคมากมาย เกิดจากกระบวนการของการถ่ายโอนซึ่งยังขาดความเป็นระบบระเบียบและความร่วมมือจากส่วนร่วมมือจากส่วนราชการต่างๆ ในการถ่ายโอนยังมีอยู่th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการกระจายอำนาจปกครอง - - ไทย (ภาคตะวันออก)11th_TH
dc.subjectการปกครองท้องถิ่น - - ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - - ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.titleการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออก : ความก้าวหน้าและประเด็นปัญหาth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue17
dc.volume13
dc.year2548
dc.description.abstractalternativeThis article is recapitulated from the research project on ‘ Evaluating Thai Decentralization Process 2004: A Case in the Seven Eastern Province’. The study is aimed to grasp with progress and obstacles on the ongoing process of devolving central government’s functions and administrative resources to local authorities framed by the 1999 Decentralization Plan. The study has shown that the implementing process has faced many problems in which resulted in its slow movement according to the 1999 plan. The devolved functions are success only in two areas which are infrastructure and social welfare. The main problems are stem from the implementing process which has no systematic procedures and the proper legal mechanism to force the central government department in cooperating and participating.en
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page40-66.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p40-66.pdf2.18 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น