กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2169
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเรวัต แสงสุริยงค์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:43Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:43Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2169
dc.description.abstractนอกจากความร่วมมือที่เรียกว่า 3 เสาหลักของประชาคมอาเซียน คือ ด้านการเมือง และความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคมและวัฒนธรรม กลุ่มประเทศอาเซียนยังมีข้อตกลงร่วมกันอีกมิติหนึ่ง คือ ด้านอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) ลดความเหลื่อมล้ำด้านไอซีที สร้างชุมชนอาเซียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-ASEAN) เปิดเสรีด้านการค้า บริการ การลงทุนและไอซีที และใช้ไอซีทีในการให้บริการและทำธุรกรรมออนไลน์ของรัฐบาล (e-Government) ตั้งแต่มีการทำความตกลงด้านอิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน (e-ASEAN Framework Agreement) ในปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา อาเซียนต้องเผชิญกับความท้าทายของความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงของไอซีทีมาตลอด คงวามพยายามในการทำให้อาเซียนเป็นสังคมอิเล็กทรอนิกส์ประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง แต่หลายประเทศยังมีอุปสรรคและตัวถ่วงที่ทำให้ไม่สามารถก้าวไปสู่การเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าด้านดิจิทัลได้ เพราะภูมิภาคอาเซียนยังมีพื้นฐานของความแตกต่างกันทั้งทางด้านภูมิประเทศ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครองth
dc.language.isothth_TH
dc.subjectประชาคมอาเซียนth_TH
dc.subjectสังคมข่าวสารth_TH
dc.subjectอินเตอร์เน็ตในการบริหารรัฐกิจth_TH
dc.subjectอาเซียนอิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.subjectสาขาสังคมวิทยาth_TH
dc.titleประชาคมอาเซียนอิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.title.alternativeElectronics ASEAN community: e-ACen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue34
dc.volume20
dc.year2555
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page43-58.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p43-58.pdf4.31 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น