กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2168
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:43Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:43Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2168
dc.description.abstract“การสอนให้น้อย การเรียนรู้ให้มาก” มีชื่อย่อว่า TLLM เป็นเรื่องเกี่ยวกับการเรียนรู้ของนักเรียนที่เรียนของประเทศสิงคโปร์ โดยครูจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนสามารถเลือกวิธีการเรียนรู้และได้รับความรู้จากการผ่านทักษะการคิดต่าง ๆ “การสอนให้น้อย การเรียนรู้ให้มาก” ควรให้นักเรียนสามารถคิดความรู้ใหม่ ๆ และในกระบวนการเชื่อมโยงความรู้ นักเรียนเรียนรู้มากกว่ากระบวนการเรียนรู้ โดยกระบวนการเชื่อมโยงความรู้ นักเรียนสามารถเรียนรู้มากกว่ากระบวนการเรียนรู้เดิม ๆ นักเรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในโลกของความจริงได้ วัตถุประสงค์ของ “การสอนให้น้อยการเรียนรู้ให้มาก” เพื่อสัมผัสและเข้าถึงจิตใจของนักเรียน นำไปสู่การเตรียมตัวเพื่อการใช้ชีวิตของนักเรียน การจัดการเรียนให้ประสบความสำเร็จ ครูควรหาคำตอบจากคำถามว่า ครูสอนทำไม ครูสอนอะไรและครูสอนอย่างไร “การสอนให้น้อย การเรียนรู้ให้มาก” เป็นการสร้างจากสรุปความคิดในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยการปรับปรุงโครงสร้าง อย่างเป็นระบบภายใต้แนวคิด “โรงเรียน นักคิดชาติแห่งการเรียนรู้” (Thinking School, Learning Nation – TSLN) เป็นการเปลี่ยนแปลงที่มีการเสริมสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ และการเรียนบรรลุผลลัพธ์ที่พึงปรารถนา (the Desired Outcome of Education-DOEA) “การสอนให้น้อย การเรียนรู้ให้มาก” จึงเป็นแนวคิดสู่การปฏิบัติของการจัดการศึกษาที่สำคัญที่ส่งผลให้ประเทศชาติเจริญรุ่งเรือง เป็นโรงเรียนนักคิดชาติแห่งการเรียนรู้เป็นมุมมองของผู้บริหารการศึกษา ควรที่จะศึกษาและนำมาใช้จัดการศึกษา กำหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ การพัฒนาครู การพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการเรียนรู้ การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ การวัดประเมินผลการเรียนและการนิเทศการสอนth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการบริหารการศึกษาth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleTeach less, learn more : Educational administrator perspectivesth_TH
dc.title.alternativeการสอนน้อยเรียนมาก มุมมองของผู้บริหารการศึกษา
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue34
dc.volume20
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeTeach Less, Learn More (TLLM) is to do with learning from teachers to students of Singapore so that students preserve learning as their choice and gain knowledge through various thinking skills TLLM should build up the students capacity to generate new knowledge and in the process of weaving in knowledge, students learn more than traditional learning process. Students learn to apply knowledge into the real world. TLLM aims to touch the hearts and engage the minds of our learners, to prepare them for life. To accomplish the educational goals, the teachers should answer the following questions: why we teach what we teach and how we teach. TLLM builds on the groundwork laid in place by the systematic and structural improvements under Thinking Schools, Learning Nation. (TSLN) of Singapore, and the mindset changes encouraged in our schools under innovation and learning and better achieve the desired outcomes of education (DOEs). So TLLM Is the important concept of educational management to the practice, affecting develop School Thinking Nation Learning (TSLM). It is the perception of educational administrators should study and apply for teaching and learning, school policy vision, teacher development, learning design, media, learning assessment and supervision.en
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page25-40.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p25-40.pdf1.95 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น