กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2129
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเอกวิทย์ มณีธร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:40Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:40Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2129
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เกี่ยวข้องการกับสังเกตการณ์ความเคลื่อนไหวและพฤติกรรมทางการเมืองในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.๒๕๔๙ ในจังหวัดชลบุรี ซึ่งวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงบรรยากาศทั่วไปช่วงการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.๒๕๔๙ ในจังหวัดชลบุรี และศึกษาบทบาทและการทำงานของคณะกรรมการเลือกตั้งระดับจังหวัด ปัญหาอุปสรรค แรแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาอีกทั้งเพื่อศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองของผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา บาบาทของหน่วยงานภาครัฐ บริษัทเอกชน องค์กรสาธารณะ และองค์กรอื่นๆ ที่เข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา รวมถึงเพื่อให้ทราบแบบแผนพฤติกรรมทางการเมืองของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา เพื่อที่จะได้นำเสนอแนวทางการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาให้เป็นกระบวนการที่ส่งเสริมระบอบประชาธิปไตยของประเทศที่มีความเข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป ผู้วิจัยได้ศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมทางการเมืองในช่วงการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.๒๕๔๙ ในจังหวัดชลบุรี ตั้งแต่ช่วงก่อนการเลือกตั้ง ๓ เดือน ช่วงระหว่างการมีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้มีการเลือกตั้ง วันเลือกตั้ง จนถึง ๑ เดือน ภายหลังจากคณะกรรมการเลือกตั้งประกาศรับรองผลการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการ โดยใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพทั้งจากเอกสาร การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผู้ที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง จากการศึกษาพบว่า การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาของจังหวัดชลบุรีในครั้งนี้เป็นไปด้วยความราบรื่น ไม่มีปัญหาอุปสรรคที่รุนแรงแต่อย่างใด การบริหารจัดการเลือกตั้งของคณะกรรมการเลือกตั้งประจำจังหวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการได้ตามปกติ การมีส่วนร่วมทางการเมืองและความสนใจของประชาชนอยู่ในระดับปานกลาง รวมทั้งความเคลื่อนไหวและพฤติกรรมทางการเมืองของผู้สมัครก็เป็นได้ได้ด้วยความเรียบร้อยเช่นกัน การแข่งขันไม่มีความรุนแรง บรรยากาศการเลือกตั้งค่อนข้างเงียบ ไม่ค่อยมีความคึกคักเหมือนการเลือกตั้งครั้งก่อนที่ผ่านมาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมืองth_TH
dc.subjectการลงคะแนนเสียง - - ชลบุรีth_TH
dc.subjectการเมืองth_TH
dc.subjectวุฒิสมาชิก - - การเลือกตั้งth_TH
dc.subjectสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์th_TH
dc.titleความเคลื่อนไหวและพฤติกรรมทางการเมืองในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๔๙ : กรณีศึกษาจังหวัดชลบุรีth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue22
dc.volume14
dc.year2549
dc.description.abstractalternativeThe study is the observation of the process and political behavior in the election of Chon Buri senators in 2006. The objectives of this study are as follows : 1. To know the general atmosphere of the election. 2. To study roles and working of the Chon Buri Election Commission. 3. To specify problems, difficulties and solutions in the election. 4. To study the roles of the government, public and private organizations related to the election. 5. To know the political behaviors of the people, especially those relates to the election. 6. To know the political behaviors of the people, especially those relates to the senator election. 7. To suggest ways to improve the process of the senator election as one of the mechanisms for the democratic consolidation in Thailand. The author divides the time frame of the study into 3 parts, that are 1. the period of three months before the election (three months before the promulgation of royal decree on the election day) 2. the election day 3. the period of three mouths from the day after the election to the day that Con Buri Election Commission formally certified the election result. Regarding research methodology, the author takes qualitative methods, such as, documentary analysis, observation and in-depth interviews with those related to the election. The findings of this study are as follows; The election was in a normal state. There was no obstacles to the election process administered by Chon Buri Election Commission and related organizations. Political participation and people rate of interest were average. The political behaviors of the candidates were in a normal state. The level of competition was not high. The atmosphere of the election was rather quiet. The election was not as enthusiastic as the previous one.en
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page85-108.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
85-108.PDF23.3 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น