กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/206
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสมถวิล จริตควรth
dc.contributor.authorวิภูษิต มัณฑะจิตรth
dc.contributor.authorจามรี แย้มยิ้มth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:45:58Z
dc.date.available2019-03-25T08:45:58Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/206
dc.description.abstractศึกษาการทดแทนประชากรและอัตราการรอดภายหลังลงเกาะของปะการังวัยอ่อนในแนวปะการังน้ำตื้นบริเวณเกาะมันใน จังหวัดระยอง ช่วงปี พ.ศ. 2553-2554 จากกลุ่มปะการัง3 สถานี สถานีละ 3 แหล่งที่อยู่ คือ ปะการังพื้นราบ (Reef flat) แนวลาดชันตอนบน (Upper reef slope) และแนวลาดชันตอนล่าง (Lower reef slope) โดยวางกรอบพื้นที่ศึกษาถาวร (Permanent quadrat) ขนาด .05x.05ม ลงบนแนวปะการังในแนวขนานกับชายฝั่ง แหล่งที่อยู่ละ 10 ซ้ำ พบปะการังวัยอ่อนทั้งหมด 17 สกุล Porites spp. เป็นสกุลเด่นที่พบ ชนิดอื่นที่พบมากได้แก่ Symphyllia spp. และ Favia spp. โดยมีความชุกชุมเฉลี่ยตามบริเวณศึกษา 1.0+-0.1 ถึง 5.6+-0.8 โคดลนี/0.25ม. และพบว่า การทดแทนประชากรรวมถึงอัตรารอดของปะการังวัยอ่อนมีความผันแปร ตามพื้นที่และเวลาในการรักษา อัตรารอดของปะการังวัยอ่อนใน 1 ปี มีความแปรปรวนอยู่ในช่วง 33.3-87.0% พบว่า ปะการังบริเวณเกาะมันในมีศักยภาพในการฟื้นตัวได้ด้วยตัวเองได้ แต่อย่างไรก็ตาม ควรหาแนวทางในการจัดการพื้นที่เหมาะสม เพื่อให้ปะการังรุ่นใหม่สามารถเกิดทดแทนปะการังเดิมได้เร็วขึ้น นอกจากนี้ข้อมูลที่ได้สามารถนำไปใช้อธิบายการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรปะการังบริเวณเกาะมันใน และเป็นข้อมูลพื้นฐานสำคัญสำหรับการวางแผนการจัดการ และอนุรักษ์ทรัพยากรแนวปะการังจังหวัดระยองth_TH
dc.description.sponsorshipรายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2553en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectปะการัง - - การเจริญเติบโตth_TH
dc.subjectปะการัง - - เกาะมันในth_TH
dc.subjectปะการัง - - ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการทดแทนประชากรและอัตรารอดภายหลังลงเกาะของปะการังวัยอ่อนแนวปะการังน้ำตื้น บริเวณเกาะมันใน จังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativecoral recruitment and juvenile survivorship on reef flat coral community at mannai island Rayong provinceen
dc.typeงานวิจัย
dc.year2553
dc.description.abstractalternativeThe distribution and survivorship of juvenile corals on the coral community were carried out at Mannai lsland, Rayong province. The study was conducted on during 2010-2011. There were 3 stations in which 3 habitats; reef flat, upper reef slope and lower reef slope were studied. The 0.5x0.5m permanent quadrat was used for studying. Ten permanent quadrats were installed onto the reef substrate at each zone where placed parallel to the shore line. Seventeen gebera of juvenile colonies were found on natural substrates. The most dominant juvenile coral was Porites spp. Other abundant juvenile coral were Symphyllia spp, and Favia spp. The density of coral recruits were 1.0+-0.1 ถึง 5.6+-0.8 colonies/0.25m. The survival rate of juvenile corals was 33.3-87.0%. The present study showed high potential natural recovery of coral communities at Mannis lsland. However appropriate management in the area may accelerate the natural recovery of coral communities. This studied indicate the spatio-temporal changes of young coral community at Mannai lsland. This is an importance aspect for the management and conservation of coral reef in Rayong Province.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น