กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2024
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorตฤณ กิตติการอำพล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:38Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:38Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2024
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง ศึกษาความต้องการพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กพิเศษ ที่จะส่งผลต่อการพัฒนาผลงานประติมากรรมเพื่อการบำบัดในศูนย์การศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออก มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลงานประติมากรรมเพื่อการบำบัด ในการพัฒนาเด็กที่มีความต้องการพิเศษประเภทที่มีปัญหาทางด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก กล้ามเนื้อมัดใหญ่ การทรงตัว และการสัมผัสระหว่างตากับมือ แบบแผนการวิจัยผสมผสานวิธี (Mixed methods research) แบบ The Exploratory Sequential Design โดยใช้วิธีวิจัยเชิงสร้างสรรค์ทัศนศิลป์ (Practice Led research) และวิธีการวิจัยเชิงปริมาณผู้วิจัยควบคู่กันไป โดยมีเป้าหมายของกลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ เด็กพิเศษ ชายและหญิงอายุระหว่าง 4-12 ปี ในศูนย์การศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออก 3 จังหวัด โดยอาศัยหลักการทฤษฎีจากกระบวนการด้านกิจกรรมบำบัด ศิลปะแบบไคเนติก และมูลฐานทางด้านศิลปะ นำมาบูรณาการให้ได้มาซึ่งผลงานประติมากรรมที่สามารถเป็นทางเลือกในการบำบัดเด็กพิเศษ โดยแบ่งเป็น 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 สำรวจข้อมูลพื้นฐาน การศึกษาและการค้นคว้า ระยะที 2 วิเคราะห์ความต้องการในการพัฒนาทางด้านร่างกาย หาความต้องการ ระยะที่ 3 การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญที่เป็นนักกิจกรรมบำบัด ผู้เชี่ยวชาญด้านทัศนศิลป์ ผลงานโมเดลที่พัฒนาขึ้นมาจะเป็นลักษณะผลงานประติมากรรมที่ประกอบดด้วยเครื่องมือที่เป็นกิจกรรมการละเล่นที่สอดคล้องและช่วยส่งเสรริมในการบำบัด จากประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ สถิตริในการวิจัยครั้งนี้ใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน, ทดสอบค่าที (t-test) และทดสอบค่าเอฟ (F-test) ผลการวิจัยพบว่า 2. ความต้องการในการพัฒนาการทางด้านรางกายของเด็ก ในศูนย์การศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออก ที่มีเพศ สถานะ ประสบการณ์ในการรดูแลเด็กพิเศษ มีความต้องการอยู่ในระดับความต้องการมาก (X=3.95,S.D.=0.50) แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ 1.1. เด็กพิเศษ มีความต้องการในการพัฒนาการทรงตัว อยู่ในระดับความต้องการมาก การพัฒนาเครื่องมือ สอดคล้องกับสมมุติฐาน และมีประสิทธิภาพ 1.2. เด็กพิเศษ ที่มีความต้องการในการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างตากับมือ อยู่ในระดับความต้องการมาก การพัฒนาเครื่องมือ สอดคล้องกับสมมุติฐาน และมีประสิทธิภาพ 1.3. เด็กพิเศษ มีความต้องการในการพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ มัดเล็ก อยู่ในนระดับความต้องงการมาก การพัฒนาเครื่องมือ สอดคล้องกับสมมุติฐาน และมีประสิทธิภาพ 1.4. เพื่อการศึกษาเด็กพิเศษ มีความต้องการในการพัฒนาระบบประสาทสัมผัสทางกาย อยู่ในนระดับความต้องงการมาก การพัฒนาเครื่องมือ สอดคล้องกับสมมุติฐาน และมีประสิทธิภาพ 2. ผลงานสเกตซ์โมเดลประติมากรรมเพื่อการบำบัด (สเกตซ์โมเดล ในลักษณะ 3 มิติ) มีการบูรณาการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการบำบัด มีความสอดคล้องกับเนื้อหาด้านการบำบัด ด้านทัศนศิลป์ ด้านการพัฒนากายภาพ และความงาม อยู่ในระดับดีมากth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับเงินอุดหนุนจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectศิลปกรรมบำบัดth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.subjectเด็กพิเศษth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษา
dc.titleศึกษาความต้องการพัฒนาการทางด้านร่างกายของเด็กพิเศษ ที่จะส่งผลต่อการพัฒนาผลงานประติมากรรมเพื่อการบำบัด ในศูนย์การศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeStudies of physical development of special children that affect to the sculpture work creation for treatment at Special Education Centeren
dc.typeResearch
dc.author.emailtrink@buu.ac.th
dc.year2560
dc.description.abstractalternativeThe research were survey studies of physical development of special children that affect to the sculpture work creation for treatment as Special Education Center, Eastern of Thailand. The purpose of this research were to develop sculpture for rehabilitation for children with special needs, particularly problem in Gross Motor, body balance and eye-hand coordination. The methodology was mixed methods research with exploratory sequential design in team of practice led research together with qualitative research. The population in this research were special children both boys and girls with the age range 4-12 year in Special Education Center, Eastern of Thailand, mainly 3 districts. Based on the theory of the occupational therapy process, Kinetic and Element of Art were integrated of the acquisition of the sculpture, which can be an alternative therapy for special children. The process has been divided into 3 sections, 1) baseline survey in education and research, 2) needs analysis in physical development and their demand 3) Construction and quality tools that evaluate by occupation therapists, visual Arts specialists. Sculpture works contains tools that are consistent and traditional activities and promoting in the treatment with experts evaluation. Statistic in this research used Percentage, Mean, Standard deviation, T-test and F-test. The results of research showed that: 1. The requirement in physical development in special education in Eastern areas that concern to gender, marital status, experience in taking care of special children. The results of the data analysis shown that the requirements are necessary and it is difference statically in general. 1.1 Special children need development of body balance in great demand. Development of effective and consistent with the hypothesis. 1.2 Special children need development of eye-hand coordination in great demand. Development of effective and consistent with the hypothesis. 1.3 Special Children need development in gross and fine motor function. Development of effective and consistent with the hypothesis. 1.4 Special children need development in tactile sensory in great demand. Development of effective and consistent with the hypothesis. 2. Sculptures model for treatment (3 dimensions model) have integrated as apparatuses that use in treatment and valuable in great demand in part of visual are, physical and aesthetic in significant levelen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_087.pdf719.9 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น