กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2015
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุทิน กิ่งทอง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:37Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:37Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2015
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของศึกษาในครั้งนี้คือศึกษาโครงสร้างจุลกายวิภาคเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียและเพศผู้ในอวัยวะ สืบพันธุ์ของหอยนางรมปากจีบ Saccostrea cucullata โดยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (TEM) ร่วมกับเทคนิคมิญวิทยา ผลการศึกษาพบว่าหอยนางรมมีเพศแยก การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของเพศผู้และเพศเมีย พบในท่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ (gonadal tubule) ซึ่งอยู่ภายในอวัยวะสืบพันธุ์ (gonad) โดยพบอวัยวะสืบพันธุ์ ทั้งเพศผู้และเพศเมียเชื่อมติดกับเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ซึ่งมีตําแหน่งอยู่ระหว่างต่อมย่อยอาหารกับแมนเทิล เพศเมีย พบเซลล์ไข่ถายในท่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ เซลล์ไข่ที่กําลังพัฒนาจะอยู่ติดกับฐานของท่อและมีขนาดใหญ่ขึ้น เนื่องจากมีการสะสมอาหารในไซโทพลาซึมมากขึ้นในรูปของโปรตีนและไขมัน ไข่ที่พัฒนา สมบูรณ์แล้วจะมีการ พัฒนาชั้น envelop คลุมเซลล์ไข่ตลอดทั้งเซลล์ ในหอยนางรมปากจีบไข่ที่พร้อมปฏิสนธิอยู่ในระยะ Primary oocyte และจะเริ่มแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเมื่อได้รับการผสมกับเซลล์อสุจิ สําหรับในเพศผู้จะพบ Spermatogonium อยู่บริเวณฐานของท่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์และแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสได้เป็นเซลล์ Spermatocyte จากนั้น Spermatocyte จะแบ่งแบบไมโอซิสเพื่อสร้าง Spermatid จากนั้น Spermatid จึง พัฒนาไปเป็น Sperm หรืออสุจิ ตามลําดับ กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เริ่มจากด้านฐานของท่อเข้าสู่ลูเมน สังเกตจากเซลล์มีขนาดเล็กลง เซลล์อสุจิที่สมบูรณ์จะพบนิวเคลียสที่ส่วนหัว และพบอะโครโซมด้านหน้าสุด พบไมโทคอนเดรียที่คอรวมกันเป็นพูใหญ่ 4-5 อันต่อเซลล์ ด้านหลังจะเป็นส่วนหางแฟลกเจลลัม เซลล์อสุจิที่ สมบูรณ์แล้วจะเคลื่อนตัวมายังกลางลูเมน นอกจากนี้ที่บริเวณฐานของท่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ยังพบเซลล์ Intragonadal somatic cell เป็นลักษณะของเซลล์ร่างกายที่มีนิวเคลียสไม่กลม ซึ่งเซลล์ชนิดนี้อาจทําหน้าที่สาคัญคล้ายกับ Sertoli cell ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ํานมth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากกองทุนวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยบูรพา ประจําปี พ.ศ. 2558th
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectหอยนางรมth_TH
dc.subjectอวัยวะสืบพันธุ์th_TH
dc.subjectเซลล์ไข่th_TH
dc.titleโครงสร้างจุลกายวิภาคเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียและเพศผู้ ในอวัยวะสืบพันธุ์ของหอยนางรมปากจีบth_TH
dc.title.alternativeUltrastructure of oogenesis and spermatogenesis in gonad of the Cupped oysteren
dc.typeResearch
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeThe objective of recent work was to investigate Ultrastructure of oogenesis and spermatogenesis in gonad of the Cupped oyster Saccostrea cucullata by using transmission electron microscope (TEM) and histological technique. The results showed that oyster is a dioecious (sex-separated) animal. Gametogenesis of male and female was developed in gonadal tubules of gonad. The gonad of both sexes was surrounded by connective tissue. The gonad is located between mantle and digestive glands. In female, during oogenesis, oocytes is originated and developed at the basement of gonadal tubules. Developing oocyte was increased in size with the accumulation of yolk granules in cytoplasm. The Yolk granules could be observed in both protein and lipid yolk granules. Mature oocyte could be noticed by the development of envelop to cover entirely oocyte. In the Hooded oyster, mature oocyte remained in primary oocyte stage. This stage will undergoes meiosis while fertilized with sperm. In male oyster, spermatogonium was located at the basement of gonadal tubules and would undergoes mitosis to produce primary spermatocyte. The primary spermatocyte was developed to spermatid by meiosis. The spermatid was consequently developed to sperm or spermatozoa by spermiogenesis. During spermatogenesis, germ cells were decreasing in size toward developmental stage of germ cell lineage. Sperm is the smallest cell and located toward lumen of gonadal tubule. Structure of mature sperm consisted of head which contained entire genetic material as dense chromatin, neck which contained 4-5 large mitochondria and long flagellum. Acrosome was located at the front of sperm. Moreover, Intragonadal somatic cells (ISCs) were also observed at the basement of gonadal tubule of male oyster. These cells may play an important role as Sertoli cell which existing in seminiferous tubules of vertebratesen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2560_033.pdf2.22 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น