กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1827
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพรพิมล เหมือนใจ
dc.contributor.authorจัทร์ทิพย์ นามสว่าง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.available2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1827
dc.description.abstractภาวะปวดกล้ามเนื้อ (delayed onset of muscle soreness) เป็นภาวะที่พบได้ในการออกกาลังกายที่ไม่คุ้นเคย ซึ่งจะแสดงอาการหลังจากออกกาลังกายเป็นเวลาหลายวัน การยืดกล้ามเนื้อและการแช่น้ำเย็นเป็นวิธีที่สามารถช่วยลดอาการปวดกล้ามเนื้อได้ ดังนั้นการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลระหว่างการยืดกล้ามเนื้อแบบคงค้างและการนวดต่ออาการแสดงของการปวดกล้ามเนื้อเหยียดเข่าหลังกระตุ้นด้วยการออกกำลังกายแบบพลัยโอเมตริกในชายไทยอายุระหว่าง 18-25 ปี จำนวน 45 คน โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน ได้แก่ กลุ่มยืดกล้ามเนื้อ กลุ่มแช่น้ำเย็น และกลุ่มที่ได้รับการยืดกล้ามเนื้อร่วมกับการแช่น้ำเย็น ซึ่งการรักษาใช้เวลา 20 นาที หลังการออกกำลังกายแบบพลัยโอเมตริก และผู้เข้าร่วมวิจัยจะถูกทดสอบระดับ serum creatine kinase การรับรู้ความเจ็บปวด วัดความยาวรอบวงของขา องศาการเคลื่อนไหวของเข่า กำลังกล้ามเนื้อ quadriceps และความสูงที่กระโดดได้ ทั้งหมด 7 ครั้ง ได้แก่ ก่อนและหลังการออกกำลังกาย, หลังรับการรักษาทันที, 24, 48, 72 และ 96 ชั่วโมงหลังออกกำลังด้วยการกระโดด ผลการศึกษาพบว่า การออกกำลังกายแบบพลัยโอเมตริกทำให้กล้ามเนื้อถูกทำลาย จากการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของค่าตัวแปรต่าง ๆ หลังจากการออกกำลังกายเมื่อเปรียบเทียบกับค่า baseline นอกจากนี้ พบความแตกต่างระหว่างกลุ่มของค่าการรับรู้ความเจ็บปวดเมื่อยแบบเฉียบพลันหลังได้รับการยืดกล้ามเนื้อ พบการลดลงของอาการบวมในกลุ่มแช่น้ำเย็นที่ 24 ชั่วโมงหลังกระโดด ค่าของความสูงที่กระโดดได้และค่าองศาการเคลื่อนไหวของข้อเข่าลดลงในกลุ่มที่ได้รับการรักษาทั้งสองวิธีน้อยกว่ากลุ่มยืดกล้ามเนื้ออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ที่ 48 และ 72 ชั่วโมงหลังออกกำลังกาย ดังนั้นจากผลของการศึกษาในครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่าทั้งการยืดกล้ามเนื้อหรือการแช่น้ำเย็นเพียงอย่างเดียวสามารถช่วยรักษาหรือคงไว้ซึ่งสมรรถภาพในการลดบวม เพิ่มความยืดหยุ่น และสมรรถภาพในการกระโดด ในขณะที่การใช้การยืดกล้ามเนื้อร่วมกับการแช่น้ำเย็นไม่เหมาะที่จะนำมาใช้ลดอาการปวดกล้ามเนื้อในทางปฏิบัติ โดยสรุปการยืดกล้ามเนื้อหรือการแช่น้ำเย็นเป็นวิธีที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพของนักกีฬาได้ดีกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้สองวิธีนี้ร่วมกันth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการปวดกล้ามเนื้อth_TH
dc.subjectการยืดกล้ามเนื้อth_TH
dc.subjectการออกกำลังกายth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการเปรียบเทียบผลของการศึกษาด้วยการยืดกล้ามเนื้อและการแช่น้ำเย็นต่อการแสดงของการปวดกล้ามเนื้อเยียดเข่าหลังการฝึกการออกกำลังกายแบบพลัยโอเมตริกในชายไทยth_TH
dc.title.alternativeComparison of effects between static stretching and cold-water immersion on functional signs of delayed onset of muscle soreness of knee extensors following plyometric training in Thai maleen
dc.typeงานวิจัย
dc.author.emailpornpimolm@buu.ac.th
dc.author.emailjuntip@buu.ac.th
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeDelayed onset of muscle soreness is the unaccustomed activity, which may last for several days post-exercise due to impaired muscle performances. Stretching and cold-water immersion are an ordinary way to reduce muscle soreness. This study aimed to investigate effects of these treatments on functional signs of muscle soreness after plyometric training. Forty-five subjects, aged from 18 to 25 years, were randomized into three groups; stretching, cold-water immersion, and combine group. Participants performed the plyometric training. Treatments were given for 20 minutes. Serum creatine kinase, soreness sensation, thigh circumferences, range of motion, quadriceps strength and vertical jump performance were measured at before exercise, after exercise, after intervention, 24, 48, 72, and 96 hour. All variables showed a significant time effect indicating the presence of muscle damage. Furthermore, they showed significant different between groups on acute soreness sensation, decreasing for stretching at after intervention, a lesser on thigh swellings in cold-water immersion compared with the other two groups at 24 hours. Moreover, they showed significant different between groups on vertical jump height, decreasing for combined intervention at 24 h, a lesser on range of motion in combine group compared with the stretching groups at 48 and 72 hours. These results suggest that either cold-water immersion or stretching can maintain impaired performance following the exercise in term of swelling, flexibility and vertical jump performance, whereas the combine one is not seem to be a practical strategy to alleviate functional signs of muscle soreness. Therefore, stretching or cold-water immersion alone is a common way to application for athletic recovery performance compared to the combine these techniques.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2564_127.pdf1.17 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น