กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1825
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวรรณวรางค์ รัตนานิคม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.available2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1825
dc.description.abstractปัจจุบันมีการใช้ประโยชน์จากดินตะกอนที่ถูกขุดลอกบริเวณชายฝั่งทะเลเพื่อเป็นวัสดุทางเลือกใหม่ในงานทางด้านวิศวกรรมโยธาต่าง ๆ มากมาย เช่น งานดิน งานคอนกรีตและงานทาง เป็นต้น งานวิจัยในอดีตจนถึงปัจจุบันส่วนใหญ่มักมุ่งเน้นการศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียดคุณสมบัติเชิงกล และคุณสมบัติการรับกำลังของดินเป็นหลัก แต่กลับพบว่าข้อมูลการศึกษาวิจัยทางด้านคุณสมบัติการยุบอัดตัวยังคงขาดแคลนและไม่ได้รับความสนใจมากนัก งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการยุบอัดตัวของทรายผสมดินตะกอนทะเลที่ถูกขุดลอกบริเวณท่าเทียบเรือแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เพื่อใช้เป็นวัสดุมวลรวมทางเลือกใหม่ในงานทางและงานทางด้านวิศวกรรมโยธาตลอดจนเพื่อศึกษาผลกระทบของปริมาณดินตะกอนทะเลที่ปนอยู่ในวัสดุมวลรวมต่อค่าพารามิเตอร์การอัดตัวคายน้ำต่างๆ โดยทำการแปรผันอัตราส่วนผสมโดยน้ำหนักแห้งระหว่างทรายต่อดินตะกอน ดังนี้ 100:090:10 80:20 70:30 60:40 50:50 40:60 และ 0:100 และทำการทดสอบคุณสมบัติพื้นฐานและคุณสมบัติการยุบอัดตัวของทรายผสมดินตะกอน จากผลการศึกษาพบว่าเมื่อมีปริมาณดินตะกอนเพิ่มขึ้น ค่าพิกัดเหลวและค่าดัชนีพลาสติก รวมถึงค่าพารามิเตอร์การอัดตัวคายน้ำ ได้แก่ ดัชนีการยุบอัดตัว ดัชนีการคืนตัว ดัชนีการยุบอัดตัวครั้งที่ 2 และค่าสัมประสิทธิ์การทรุดตัวแบบอัดตัวคายน้ำ มีค่ามากขึ้นตามไปด้วย Nowadays the applications of marine dredged sediment as a new materials resource for geotechnical work such as road construction are extensively available. Research topics are usually focused on stress-strain relationship, mechanical properties and strength behavior of soil but the study of compressibility behavior is still not available. The objectives of this research were to study the compressibility behavior of sand-marine sediment samples from Laemchabang harbor used as a new material resource for road construction and civil engineering work and also to study the effect of marine sediment quantity on consolidation parameters. The ratios of sand-marine sediment samples; 100:0, 90:10, 80:20, 70:30, 60:40, 50:50, 40:60 and 0:100; were investigated the basic and engineering properties. The results showed that when the amount of marine sediment in soil samples increased, liquid limit and plasticity index and also the consolidation parameters such as compression index, recompression index or swelling index, secondary compression consolidation index and coefficient of consolidation tended to increase.th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectดินตะกอนทะเลth_TH
dc.subjectวัสดุมวลรวมth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมการยุบอัดตัวของทรายผสมดินตะกอนทะเลที่ขุดลอกบริเวณท่าเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี เพื่อใช้เป็นวัสดุทางเลือกใหม่ในงานทางth_TH
dc.title.alternativeStudy of compressibility behavior of marine dredged sediments from Laemchabang harbour, Chonburi as a new material resource for road constructionen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailwanwarangr@buu.ac.th
dc.year2558
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2564_153.pdf3.07 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น