กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1815
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกาญจนา พิบูลย์th
dc.contributor.authorพวงทอง อินใจth
dc.contributor.authorมยุรี พิทักษ์ศิลป์th
dc.contributor.authorศักดิภัทร พวงคตth
dc.contributor.authorพิสิษฐ์ พิริยาพรรณth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.available2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1815
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุแบบไปกลับในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โดยแบ่งการดาเนินการเป็น 3 ระยะ การศึกษาครั้งนี้ดำเนินการในระยะที่ 3 มีวัตถุประสงค์ในการประเมินรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุแบบไปกลับ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการด้านการดูแลผู้สูงอายุจำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุแบบไปกลับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ผลการศึกษาพบว่ารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุแบบไปกลับมีความเหมาะสมในการนำไปใช้ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โดยมีค่าความเชื่อมั่นในภาพรวม 0.93 สำหรับค่าความเชื่อมั่นรายด้านใน ด้านขอบเขตและเป้าหมาย ด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านความน่าเชื่อถือของรูปแบบ ด้านความชัดเจนและการนำเสนอด้านการนำรูปแบบไปใช้ และด้านความเป็นอิสระ มีค่า 0.92, 0.92, 0.91, 0.94, 0.91 และ 0.97 ตามลำดับ สาหรับผู้ให้บริการที่ต้องการนำรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุแบบไปกลับไปใช้ควรพิจารณาถึง ความต้องการและความคาดหวังของผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย ผู้ให้บริการ และผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย และความเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ This participatory action research was aimed to develop an elderly day care model in the university hospital. This research project consists of three phases. This phase was the third phase of this project and the objective of this phase was to evaluate the appropriation of elderly day care services model. Fifteen professional and academic expertises of elderly care were recruited to participate in this study. The collected data were used evaluation form for the appropriation of the new model and analyzed by using descriptive statistics. The results were showing that the elderly care model was appropriate to use in the university hospital context and the overall reliability was 0.93. For the reliability in subcategory showed that the reliability of scope of purpose, stakeholder involvement , rigor and development, clarity and presentation, applicability and editorial independence were 0.92,0.92, 0.91,0.94,0.91, and 0.97 respectively. In order to apply this model in another area, health care providers should consider the target population , health care service providers, and other stakeholder expectations and need as well as the context of their area.th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ - -การดูแลth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleรูปแบบการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุแบบไปกลับในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา (ระยะที่ 3)th_TH
dc.title.alternativeElderly day care model in Burapha University hospitalen
dc.typeงานวิจัย
dc.year2558
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2564_174.pdf2.68 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น