กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1782
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจารุวรรณ ธรรมศิลth
dc.contributor.authorพงศ์เทพ จิระโรth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:41Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:41Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1782
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในคณะศึกษาศาสตร์ และเพื่อทดลองใช้และประเมินระบบประกันคุณภาพภายในคณะศึกษาศาสตร์ที่พัฒนาขึ้น โดยมีขั้นตอนและวิธีดำเนินการประกอบด้วย 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพการดำเนินงานเกี่ยวกับการประกันสุขภาพของคณะ มีนาคม 2558 กลุ่มเป้าหมายครอบคลุมผู้บริหารโครงการ คณะกรรมการประจำคณะ บุคลากรและคณาจารย์ผู้มีส่วนร่วมเกี่ยวข้องจำนวน 30 คน ระยะที่ 2 การปรับปรุงและพัฒนาระบบภายใน เมษายน 2558 ถึง พฤษภาคม 2558 กลุ่มเป้าหมายครอบคลุมผู้บริหาร คณะกรรมการประจำคณะ สรุป ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ ความเหมาะสมของระบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อพบว่ามีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด จำนวน 14 ข้อ (Mdn. ระหว่าง 4.21 – 4.69) ระดับมาก 1 ข้อ คือกลไกของระบบที่มีคณะกรรมการประกันคุณภาพระดับภาควิชา (Mdn. = 4.20) โดยกิจกรรมการประเมินระบบประกันคุณภาพในคณะศึกษาศาสตร์มีคะแนนความเหมาะสมสูงสุด (Mdn. = 4.69) ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มีการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2557 ระหว่างวันที่ 17 – 31 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อติดตามตรวจสอบผลการดำเนินงานของหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ ในรอบปีการศึกษา 2557 ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา โดยมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร จำนวน 38 หลักสูตร พบว่าในปีการศึกษา 2557 คณะศึกษาศาสตร์ มีหลักสูตรที่เปิดสอนทั้งหมด จำนวน 38 หลักสูตร มีหลักสูตรที่ผ่านการประเมิน จำนวน 32 หลักสูตร และไม่ผ่านการประเมิน จำนวน 6 หลักสูตร โดยมีผลรวมค่าคะแนนของทุกหลักสูตร เท่ากับ 66.04 คะแนน ดังนั้น ในตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวมของคณะศึกษาศาสตร์ มีค่าคะแนนเท่ากับ 1.74 คะแนนth_TH
dc.description.sponsorshipทุนวิจัยคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ 2558en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการวิจัยและพัฒนาth_TH
dc.subjectระบบประกันคุณภาพภายในth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการวิจัยและพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.title.alternativeThe research and development of internal quality assurance system for faculty of education Burapha universityen
dc.typeResearch
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeThis study aimed 1) to develop a new Internal Quality Assurance system for the Faculty of Education Burapha University, and 2) to try out the system to see its effectiveness, This study was designed in 3 phases. The first phase was the analysis of the Faculty's Internal Quality Assurance System. The population for the data collection in this first phase was 30 people. They were a group of Faculty management people, a group of Faculty committee, a group of Faculty senior consulting people and a group of senior expert teachers. In the second phase, which very much focused on the development of an Internal Quality Assurance system, the researchers used the focus group technique to collect data. The people who participated and shared their viewpoints in this phase were 10 Faculty management people, 17 Faculty committee, and 12 Faculty senior consulting people (six of whom were people from outside and the other six were people working inside the Faculty of Education). In addition, while 17 Faculty senior consulting people were asked to evaluate the proposed system, the researchers as around 10 Faculty senior consulting people to become i auditors. The last phase intended to implement the developed system and evaluate it. This study found that the developed Internal Quality Assurance system of Faculty of Education consisted of 4 main activities and 3 mechanisms. This system was designed to have 2 Internal Quality Assurance teams. The first team was called "the management team", which was comprised of Faculty management people, all heads of departments and Internal Quality Assurance committee. The second team was called "the operational team which included lecturers, the faculty staff members, Internal Quality Assurance committee, most of whom were lecturers and faculty staff members passing the Internal Quality Assurance training program, all heads of departments and all heads of study programs in the Faculty of Education. The main arranged activities by the Faculty of Education, were 1)the Internal Curriculum Quality Assurance activity and 2) the Internal Faculty Quality Assurance activity. Both when being activities were planned to ensure the readiness of all study programs and the Faculty evaluated by quality assurance teams from outside. These were approved and run by 2 teams. While team A included 10 people from the Faculty management team and Faculty senior consulting people, team B took account of 17 members of the Faculty committee. It was shown in this study that on average, the suitability of this Internal Quality Assurance System was significantly found in both the high and the highest levelen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_086.pdf11.4 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น