กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1738
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธรรมนูญ รัศมีมาสเมือง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:37Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:37Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1738
dc.description.abstractโครงการวิจัยนี้มีวัตถุระสงค์หลักเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสัมประสิทธิ์การลดทอนคลื่นเนื่องจากต้นโกงกางจำลองกับตัวแปรทางอุทกพลศาสตร์และพฤกษศาสตร์ที่สำคัญ ได้แก่ ความลาดชันของคลื่น ความลึกของน้ำ ความยาวของแนวต้นโกงกางจำลอง และความหนาแน่นของต้นโกงการจำลอง การทดสอบถูกดำเนินการในห้องปฎิบัติการทางชลศาสตร์ โดยใช้รางจำลองคลื่นขนาดกว้าง 0.60 เมตร ลึก 0.80 เมตร ยาว 16.0 เมตร และเครื่องกำเนิดคลื่นแบบใบพัด สร้างคลื่นแบบสม่ำเสมอด้วยคาบคลื่นจำนวด 5 ค่า แต่ละคาบคลื่น คลื่นถูกพัดด้วยระยะคันชักที่แตกต่างกัน 6 ค่า ซึ่งแต่ละระยะคันชักให้ความสูงคลื่นแตกต่างกัน ระบบรากและลำต้นของต้นโกงกางถูกจำลองขึ้นเหล็กเส้นตัด-เชื่อมให้มีลักษณะทางกายภาพคล้ายคลึงกัน การทดลองมีเปลี่ยนแปลงพารามิเตอร์ที่สนใจ ดังนี้ ความชันของคลื่นตามการสร้างคลื่นข้างต้น ความลึกน้ำจำนวน 3 ค่า ความยาวของแนวต้นโกงกางจำลองจำนวน 4 ค่า ความหนาแน่นของต้นโกงการจำลองจำนวน 4 ค่า ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า ความชันของคลื่น ความลึกของน้ำ ความยาวของแนวต้นโกงกางจำลอง และความหนาแน่นของต้นโกงกางจำลอง มีอิทธิพลต่อการลดทอนคลื่นที่เคลื่อนผ่านแนวต้นโกงกางจำลองนี้ ความชันคลื่นที่เพิ่มขึ้น ความยาวของแนวและความหนาแน่นของต้นโกงกางจำลองที่เพิ่มขึ้น ทำให้การลดทอนคลื่นที่เพิ่มขึ้น ความยาวของแนวและความหนาแน่นของต้นโกงกางจำลองที่เพิ่มขึ้น ทำให้การลดทอนคลื่นเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฎการเหล่านี้เพิ่มโอกาศที่คลื่นจะปะทะกับรากทำให้แรงลากเนื่องจากรากเพิ่มขึ้น การลดทอนคลื่นจึงลดลง ในขณะที่ความลึกน้ำที่เพิ่มขึ้น ทำให้การลดทอนคลื่นลดลง เนื่องจากความลึกน้ำเพิ่มขึ้นทำให้อนุภาพของน้ำที่โคจรที่ผิวน้ำปะทะรากลดลงการลดทอนคลื่นจึงลดลง การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ แสดงให้เห็นว่า การลดทอนคลื่นมีความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงกับความชันคลื่นมากที่สุด ตามมาด้วยความยาวต้นโกงกางจำลอง ความหนาแน่นของต้นโกงกางจำลอง และความลึกน้ำตามลำดับ การศึกษานี้ยังนำเสนอสัมการทำนายการลดทอนคลื่นเนื่องจากลากและลำต้นโกง กางจำลอง ซึ่งให้ผลการทำนายดีพอสมควรth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคลื่นth_TH
dc.subjectอุทกพลศาสตร์th_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการทดลองห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการลดทอนของคลื่นในป่าชายเลนth_TH
dc.title.alternativeLaboratory experiments on wave attenuation in mangrove forestsen
dc.typeงานวิจัย
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThai research are to study the relationship between the wave reduction due to modeled rhizophora and the hydrodynamic and botanic parameters; i.e. wave steepness, water depth, length of modeled rhizophora line and density of modeled rhizophora. A series of experiments were conduct in a hydraulic laboratory, in which the wave flume and the wave generator were employed to generate the regular waves with five different wave periods. At each wave period, the waves were generate with six different crank-disk strokes for different wave heights. Root and trunk system of Rhizophora tree was modeled by steel bars. The studies were tested with three different water depths, four different lengths of tree line and four different densities of modeled tree. Experiment results show that the wave steepness, the water depth, the length of tree line and the density the density of modeled tree affect the wave reduction. Increase in the wave steepness, the length of tree line and the density of modeled tree lead to an increase in the wave reduction. This phenomena happen because increase in those parameter brings about that the waves crash the roots and trunks. Consequently, the wave reduction become greater. While the wave reduction decreases as the increase in water depths, because higher water level cause less chance for waves crashing the roots and trunks and then cause the wave reduction to decrease. Multiple regression analysis was done to investigate the extent of the parameter influences. The result shows that the most influential parameter is the wave steepness, following by the length of modeled tree line, the density of modeled tree and the water depth respectively. The study also proposes a multiple linear regression equation for predicting the wave reduction due to modeled rhizophora, which is able to give satisfied prediction.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น