กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1704
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอาวุธ หมั่นหาผลth
dc.contributor.authorสุเมตต์ ปุจฉาการth
dc.contributor.authorสุพัตรา ตะเหลบth
dc.contributor.authorวันชัย วงสุดาวรรณth
dc.contributor.authorฉลวย มุสิกะth
dc.contributor.authorแววตา ทองระอาth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:35Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:35Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1704
dc.description.abstractการศึกษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมในถิ่นอาศัยของฟองน้ำทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของไทย จำนวนทั้งสิ้น 7 สถานี (5 เกาะ) โดยเก็บตัวอย่าง 3 ครั้ง คือ เดือนมกราคม 2557 เดือนตุลาคม 2557 และเดือนธันวาคม 2557 เพื่อตรวจวัดคุณภาพน้ำทางด้านกายภาพและเคมี และเก็บตัวอย่างฟองน้ำทะเลและ แพลงก์ตอนพืช ผลการศึกษา พบว่า คุณภาพสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณดังกล่าว มีค่าพิสัยของพารามิเตอร์ต่าง ๆ ดังนี้ อุณหภูมิ 24.9-31.0 °C ความเค็ม 28-32 ppt ความเป็นกรด- ด่าง 8.2-8.4 ออกซิเจนละลาย 5.7-8.2 mg/L ความโปร่งแสง 1.2-9.3 m สารแขวนลอย 8.8-21.2 mg/L แอมโมเนียทั้งหมด 2.4-23.3 μg/L แอมโมเนียรูปที่ไม่มีอิออน 0.5-3.0 μg/L ไนไตรท์ ND-14.3 μg/L ไนเตรท 2.2-55.4 μg/L ฟอสเฟต ND-20.0 μg/L และซิลิเกต 72.5-327.5 μg/L ซึ่งความแปรปรวนของทุกพารามิเตอร์ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ (P<0.01) แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเวลาและสถานี เมื่อเปรียบเทียบค่าพารามิเตอร์คุณภาพ น้ำกับค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่งเพื่อเพื่อการอุตสาหกรรมและท่าเรือ และการอนุรักษ ์ทรัพยากรธรรมชาติ พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน แต่อย่างไรก็ตาม ควรจะมีการตรวจติดตามเฝ้าระวังต่อไป เพื่อป้องกันไม่ให้คุณภาพน้าทะเลเสื่อมโทรมลงฟองน้ำที่พบจากการสำรวจทั้งหมด 40 ชนิด จาก 33 สกุล 27 วงศ์ และ 10 อันดับ จากฟองน้ำที่ทำการสำรวจทั้งหมด พบว่า บริเวณเขตอุตสาหกรรมและท่าเรือหมู่เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี พบฟองน้ำทะเลมีความหลากหลายมากที่สุดจำนวน 24 ชนิด รองลงมาคือบริเวณเขตอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ หมู่เกาะมัน จังหวัดระยอง พบ 21 ชนิดและบริเวณเขตอุตสาหกรรมและท่าเรือ เกาะสะเก็ด จังหวัดระยอง พบ 16 ชนิด ฟองน้าที่พบเหล่านี้เป็นฟองน้ำที่พบได้ทั่วไปในบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก และเขตอินโดแปซิฟิค กลุ่มของฟองน้ำที่พบมากที่สุดคือ Order Haplosclerida 13 ชนิด รองลงมาคือ Order Poecilosclerida พบ 10 ชนิด และพบว่าฟองน้ำที่อาจจะสามารถมาใช้เป็นดัชนีชี้วัดถึงสภาพแวดล้อมทางทะเลได้ ตัวอย่างเช่น Paratetilla bacca (Selenka), Biemna fortis (Topsent), Oceanapia sagittaria (Sollas) Coelocarteria singaporensis (Carter), และIrcinia mutans (Wilson) มักพบในบริเวณที่มีการตกตะกอนค่อนข้างสูง O. sagittaria (Sollas) and C. singaporensis (Carter) มีรูปทรงการเจริญที่เรียกว่า “Fistule” ซึ่งฟองน้ำจะสร้างท่อยืดยาวขึ้นจากลาตัวฟองน้ำและมักพบฝังตัวในบริเวณพื้นท้องทะเลที่อ่อนนุ่มจากการตกตะกอนซึ่งถ้าเราพบฟองน้ำเหล่านี้สร้างท่อขึ้นไปสูงมากขึ้นเท่าใดอาจจะสามารถคาดคะเนได้ว่าบริเวณนั้นอาจจะมีการตกตะกอนสูงมาก แพลงก์ตอนพืชที่พบจากการสารวจ 78 สกุล แบ่งเป็น Class Cyanophyceae 4 สกุล Class Chlorophyceae 1 สกุล Class Euglenophyceae 1 สกุล Class Bacillariophyceae 59 สกุล Class Dictyochophyceae 1 สกุล และ Class Dinophyceae 12 สกุล สกุลที่มีความหนาแน่นเซลล์เฉลี่ยสูงสูด ได้แก่ Skeltonema, Chaetoceros, Bacteriastrum, Guinardia, Pseudonitzschia และ Thalassionema ตามลำดับ และพบการสะพรั่งของ Skeltonema sp. ในเดือน มกราคม บริเวณเกาะสะเก็ด ความหนาแน่นเซลล์เฉลี่ยของแพลงก์ตอนพืชมีค่าสูงในเดือนมกราคม และต่าสุดในเดือน ธันวาคม พื้นที่ศึกษาวิจัยที่พบปริมาณแพลงก์ตอนพืชสูงสุดทั้ง 3 ครั้ง คือบริเวณเกาะสเก็ด และต่าสุดคือหมู่เกาะมัน ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้าทะเลและแพลงก์ตอนพืช มีความสัมพันธ์กับค่าความลึก ค่าความโปร่งใส ซิลิเกตและตะกอนแขวนลอยth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคุณภาพสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.subjectฟองน้าทะเลth_TH
dc.subjectภาคตะวันออกของไทยth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectแพลงก์ตอนพืชth_TH
dc.titleคุณภาพสิ่งแวดล้อมในถิ่นอาศัยของฟองน้ำทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของไทย (ปีที่ 1)th_TH
dc.title.alternativeEnvironmental quality in marine sponge habitats in the eastern coast of the gulf of Thailanden
dc.typeResearch
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeEnvironmental quality in marine sponge habitats in the eastern coast of the Gulf of Thailand was investigated 3 times in January, 2014, October, 2014 and December, 2014. The areas investigated were divided into 7 stations (5 Islands). Water samples at each station were collected and analyzed for a range of physical and chemical parameters. The results showed that the water quality along the area were in the following ranges : temperature 24.9-31.0 °C, salinity 28-32 ppt, pH 8.2-8.4, dissolved oxygen 5.7-8.2 mg/L, transparency 0.1-2.0 m, suspended solids 8.8-21.2 mg/L, total ammonia 2.4-23.3 μg/L, unionized ammonia 0.5-3.0 μg/L, nitrite ND-14.3 μg/L, nitrate 2.2-55.4 μg N/L, phosphate ND-20.0 μg/L and silicate 72.5-327.5 μg/L. All water quality parameters were significantly different (P<0.01). These also depended on the time and the stations. Although most of these are still within acceptable ranges set by the Thai Pollution Control Department, these need careful monitoring to ensure that the level of pollution does not deteriorate further. Sponge were found 40 species 33 genera, 27 families and 10 order. In the industrial area and the port, Chon Buri province found hjghly sponges, with 24 species, and conservation zone in Rayong province found 21 species and found lowerly sponges Saket Islands Rayong province found 16 species. These sponges have been found in the eastern Gulf of Thailand. And the Indo-Pacific zone. The most of sponge were Order Haplosclerida 13 species, Order Poecilosclerida 10 species and found that sponges could be used as indicators of the marine environment, for example Paratetilla bacca (Selenka), Biemna. fortis (Topsent), Oceanapia sagittaria (Sollas) Coelocarteria singaporensis (Carter), and Ircinia mutans (Wilson) is often found in areas with relatively high precipitation O. sagittaria (Sollas) and C. singaporensis (Carter) has the shape of growth. called "Fistule". The sponge is building a pipeline stretching from the body sponge and often found embedded in the sea floor, soft from settling, which, if we find these sponges to build a pipe to an altitude much more likely. it can be conjectured that the area could be very high precipitation. Phytoplankton found 78 Genera. Class Cyanophyceae 4 Genera, Class Chlorophyceae 1 Genera, Class Euglenophyceae 1 Genera, Class Bacillariophyceae 59 Genera, Class Dictyochophyceae 1 Genera and Class Dinophyceae 12 Genera. The Genus found in cell density averaged highest were Skeltonema, Chaetoceros, Bacteriastrum,. Guinardia, Pseudonitzschia and Thalassionema respectively, and found many Skeltonema sp. in January, Saket Island. The average cell density of phytoplankton is high in January. And lowest in December, the study found the amount of phytoplankton highly was Saket Islands. And lowest was Mun Islands. The relationship between water quality and phytoplankton. Correlated with the depth. Transparency, Silicate and Suspended solids.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2559_034.pdf3.27 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น