กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1694
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorณัฐวุฒิ เหลืองอ่อนth
dc.contributor.authorวิรชา เจริญดีth
dc.contributor.authorวิไลวรรณ พวงสันเทียะth
dc.contributor.authorศิริวรรณ ชูศรีth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:34Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:34Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1694
dc.description.abstractการเลี้ยงปลาแมนดารินเพื่อให้มีการผสมพันธุ์วางไข่ได้ในที่กักขัง จำเป็นต้องจัดสภาพแวดล้อม และจัดหาอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของปลาเพราะระบบที่ดีสามารถช่วยรักษาสภาพแวดล้อมภายในตู้เลี้ยงให้เหมาะสมโดยมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมน้อย ช่วยเพิ่มภูมิต้านทานลดอัตราการเกิดโรค เพิ่มอัตราการเจริญเติบโตและรอดตาย รวมทั้งภายในระบบเลี้ยงยังสามารถเพิ่มอาหารธรรมชาติที่มีคุณภาพและปริมาณที่ต้องกับความต้องการของพ่อแม่พันธุ์ ส่งผลให้พ่อแม่พันธุ์มีความสมบูรณ์มากขึ้น ทดสอบระบบเลี้ยงปลาแมนดาริน (Synchiropus splendidus) โดยเปรียบเทียบสัดส่วนของพื้นที่ที่ผลิตอาหารธรรมชาติที่เกิดขึ้นภายในตู้เลี้ยงกับพื้นที่เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ปลาแมนดารินโดยทดลองในตู้กระจกขนาดความหนาแน่น 1 คู่ต่อตู้ ในสัดส่วน 0:1, 1:2, 1:3 และ 1:6 เป็นระยะเวลา 3 เดือน เพื่อตรวจสอบการเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ และการผลิตตัวอ่อนของปลาแมนดาริน พบว่าอัตราการรอดตายของพ่อแม่พันธุ์ปลาแมนดาริน มีค่าอยู่ระหว่างร้อยละ 66.7–100 เพศผู้น้ำหนักเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น คือ 3.2+-1.3, 1.6+-0.4, 0.2+-0.1 และ 0.2+-0.1 กรัมตามลำดับ ส่วนเพศ เมียน้ำหนักเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น คือ 1.2+-0.7, 0.8+-0.2, 0.1+-0 และ 0.1+-0 กรัมตามลำดับ จำนวนครั้งในการผสมพันธุ์เฉลี่ย คือ 17+-8, 5+-6, 0+-0 และ 0+-0 ครั้งตามลำดับ จำนวนตัวอ่อนเฉลี่ยต่อครั้ง คือ 64+-86, 42+-21, 0+-0 และ 0+-0 ตัวตามลำดับ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าสัดส่วนของตู้ที่ต่างกันไม่มีผลต่อการรอดตาย แต่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโต การผสมพันธุ์และการผลิตตัวอ่อนของปลาแมนดาริน เปรียบเทียบอัตราการปล่อยพ่อแม่พันธุ์ปลาแมนดาริน เพศผู้ : เพศเมีย 3 ระดับ คือ 1:1, 1:3 และ 1:5 ตัว เป็นระยะเวลา 2 เดือน เพื่อตรวจสอบการเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ และการผลิตตัวอ่อนของปลาแมนดาริน พบว่าพ่อแม่พันธุ์ปลาแมนดารินมีอัตราการรอดตาย 100 เปอร์เซนต์ จำนวนครั้งในการผสมพันธุ์เฉลี่ย คือ 3+-2, 22+-8 และ 18+-6 ครั้งตามลำดับ จำนวนตัวอ่อนเฉลี่ยต่อครั้ง คือ 4+-8, 14+-20 และ 8+-15 ตัวตามลำดับ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าอัตราการปล่อยพ่อแม่พันธุ์ที่ต่างกันไม่มีผลต่อการรอดตายและการเจริญเติบโต แต่ส่งผลกระทบต่อการผสมพันธุ์ที่เพิ่มมากขึ้นแต่ไม่ส่งผลต่อการผลิตตัวอ่อนของปลาแมนดารินth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการพัฒนาและการออกแบบth_TH
dc.subjectปลาแมนดารินth_TH
dc.subjectระบบการเพาะเลี้ยงth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการออกแบบและพัฒนาระบบการเพาะเลี้ยงปลาแมนดาริน, Synchiropus splendidus (Herre, 1927)th_TH
dc.title.alternativeDesign and development of culture mandarinfish, synchiropus splendidus (Herre, 1927)th_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2557
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2559_027.pdf946.12 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น