กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1693
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอุไรวรรณ อินทมาโส
dc.contributor.authorวรวัฒน์ สุขคำ
dc.contributor.authorวิทยา ภูมิศักดิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:34Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:34Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1693
dc.description.abstractการตรวจหาการปนเปื้อนของไวรัสในอาหารเป็นประจำในอาหารต้องอาศัยวิธีที่มีประสิทธิภาพและความเร็วในการตรวจสอบ การศึกษานี้ได้นำวิธี duplex RT-PCR มาใช้ในการตรวจสอบการปนเปื้อนของไวรัสตับอักเสบชนิดเอและโรตาไวรัสพร้อมกันในหอยนางรม โดยมีการออกแบบ primer จากบริเวณที่มี การอนุรักษ์ไว้ของไวรัสทั้งสองชนิด (บริเวณ VP4 ของไวรัสตับอักเสบชนิดเอและ VP7 ของโรตาไวรัส) ปฏิกิริยา monoplex RT-PCR มีความไวในการตรวจสอบสารพันธุกรรมของไวรัสตับอักเสบชนิด มากกว่าโรตาไวรัส แต่กลับพอ ๆ กันใน duplex RT-PCR วิธี DNA-ELISA สามารถใช้ในการตรวจสอบความจำเพาะ ผลผลิตที่ได้จากปฏิกิริยา RT-PCR ได้แต่ไม่สามารถเพิ่มความไวในการตรวจสอบการปนเปื้อนของไวรัสจากวิธี RT-PCRได้ สำหรับเทคนิค multiplex RT-PCR และ nested PCR สามารถตรวจพบการปนเปื้อนในหอยนางรมด้วยไวรัสโรตาและไวรัสตับอักเสบเอ เพียงชนิดเดียวหรือทั้งสองชนิดใน 26 จากจำนวนตัวอย่าง ทั้งหมด 41 ตัวอย่างโดยสายพันธุ ของไวรัสโรตาที่พบทั้งหมดเป็น Genotype G1[8] ดังนั้น เทคนิค duplex RT-PCR-DNA-ELISA สามารถใช้ในการยืนยันความจำเพาะผลผลิตจากปฏิกิริยา RT-PCR ได้แต่ duplex RT-nested PCR สามารถนำมาใช้ในการตรวจคัดกรองหอยนางรมที่ปนเปื้อนไวรัสเป้าหมายและ การตรวจสอบ genotype ของไวรัสที่ปนเปื้อนได้ ซึ่งมีประโยชน ในการศึกษาการระบาดของเชื้อด้วยth_TH
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ที่เป็นเงินอุดหนุนจากรัฐบาล งบประมาณ ปี 2557en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสหเวชศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectดีเอนเออีไลซาร์th_TH
dc.subjectโรตาไวรัสth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleวิธี duplex RT-PCR-Enzyme-Linked Immunoassay เพื่อตรวจสอบ การปนเปื้อนของไวรัสตับอักเสบชนิดเอและโรตาไวรัสพร้อมกันในหอยนางรมสดth_TH
dc.title.alternativeThe duplex RT-PCR-Enzyme-Linked Immunoassay for the detection of HAV and rotavirus in oysters.en
dc.typeงานวิจัย
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeAn efficient and rapid virus detection method is required for routine control and risk assessment in food products. In this study, duplex RT-PCR was performed to evaluate the presence of Hepatitis virus (HAV) and rotavirus in harvested oysters. Primers were designed using multiple alignments of target gene sequences (VP4 of HAV and VP7 of rotavirus). Monoplex RT-PCR had more sensitivity in detection of HAV than rotavirus but comparable in detection of both viruses by duplex RT-PCR. DNA-ELISA was shown to confirm the specificity of RT-PCR product but not for increased sensitivity of detection.Overall positive samples, 26 out of 41, were found in oyster samples contaminated with either one or both viruses when detected with duplex-RT-PCR combined with nested PCR. All rotavirus positive samples were found to be group A G1P[8]. Thus duplex RT-PCR combined with DNA-ELISA can be employed to confirm the specificity of RT-PCR product but duplex RT-PCR combined with nested PCR can be used not only as a tool for screening viral contaminations in oysters but also for epidemiological studies.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2559_013.pdf976.56 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น