กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1671
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวนัสรา เชาวน์นิยมth
dc.contributor.authorศิริพร จันทร์ฉายth
dc.contributor.authorสุนิศา แสงจันทร์th
dc.contributor.authorพัชนา ใจดีth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:33Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:33Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1671
dc.description.abstractในสถานการณ์ที่ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยที่ยังเตรียมตัวไม่พร้อม การจัดการเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตแต่ละด้าน โดยเฉพาะด้านโภชนาการที่มีผลต่อผู้สูงอายุโดยตรงนั้นยังขาดความชัดเจน ฉะนั้นการพัฒนากลไกการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีภาวะโภชนาการและภาวะสุขภาพดีอย่างยั่งยืนจึงมีความสำคัญมาก ดังนั้นการวิจัยแบบแผนการบริโภคอาหาร ภาวะโภชนาการ และปัจจัยขับเคลื่อนชุมชนผู้สูงอายุสุขภาพดีจึงมีวัตถุประสงค์สาคัญเพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบ การดูแลภาวะโภชนาการและสุขภาพของผู้สูงอายุแบบบูรณาการ โดยใช้รูปแบบวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) แบ่งเป็น 3 ระยะดังนี้ ระยะที่ 1 การประเมินสถานะสุขภาพกายและแบบแผนการบริโภค เลือกการวัดความดันโลหิตน้ำตาลในเลือด ดัชนีมวลกาย ไขมันในเลือด (การเจาะเลือดจากปลายนิ้ว) และโรคประจาตัว กับผู้สูงอายุในชุมชนบางพระจานวน 48 คน ระยะที่2 การพัฒนารูปแบบการดูแลภาวะโภชนาการและสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยมีแกนนำสุขภาพ เป็นกลไกหลักในการให้โภชนศึกษาแบบวงน้ำชา ให้มีการปรับพฤติกรรมการบริโภคโดยเริ่มต้นจากสิ่งที่ง่าย ไปจนถึงการสร้างกิจกรรมที่สนใจร่วมกันกับผู้สูงอายุ และระยะที่ 3 การประเมินรูปแบบการดูแลภาวะโภชนาการและภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุที่ได้พัฒนาขึ้น โดย (1) ประเมินสถานะสุขภาพกายและแบบแผน การบริโภค และชีวเคมีในเลือดซ้า วิเคราะห์เปรียบเทียบชุดข้อมูลทั้ง 2 โดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย Standard Deviation, Wilcoxon Sign Rank Test และ (2) ถอดบทเรียนการเรียนรู้จากผู้เกี่ยวข้องผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมากกว่าหนึ่งในสามมีภาวะเสี่ยงต่อโรคอ้วน คือมีดัชนีมวล กาย เส้นรอบเอว และสัดส่วนเอวกับสะโพกเกินเกณฑ์ ปริมาณไขมันในเลือดอยู่ในระดับสูง และชุมชนนี้อยู่ในแหล่งอาหารทะเล กลุ่มเสี่ยงทั้งหมดเข้าร่วม กำหนดรูปแบบการดูแลโดยมีแกนนำสุขภาพและสมุดบันทึกรายการอาหารและร่วมกิจกรรมต่อเนื่อง 3 เดือนเมื่อเปรียบเทียบผลค่าความดันโลหิต ค่าดัชนีมวลกาย ค่าระดับน้ำตาลในเลือด และค่าไขมันในเลือดโดยรวม ก่อนและหลังการทดสอบรูปแบบด้วยสถิติ Wilcoxon Sign Rank test พบว่า ผู้สูงอายุ มีค่าบ่งชี้สุขภาพดีขึ้น อย่างมีนัยสาคัญ (p<0.05) สำหรับค่า Mean arterial pressure ค่าดัชนีมวลกาย และค่า Triglyceride มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง ไม่มีนัยสำคัญth_TH
dc.description.sponsorshipการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณแผ่นดิน พ.ศ. 2557en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectรูปแบบการดูแลภาวะโภชนาการและสุขภาพth_TH
dc.subjectแกนนำสุขภาพth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleแบบแผนการบริโภคอาหาร ภาวะโภชนาการ และปัจจัยขับเคลื่อน ชุมชนผู้สูงอายุสุขภาพดีth_TH
dc.title.alternativeDietary pattern, nutritional status and driven factors for community of healthy elderlyen
dc.typeResearch
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThailand is being ageing society without well prepare and unclear management for elderly quality of life improvement, especially on dietary and nutrition. This participatory action research (PAR) was aimed to develop nutritional care and health model for elderly. There were three phases of study process conducted at Bang Pra community and 48 elders participated along project. Phase 1, physical health and dietary pattern survey by concerning blood pressure, fasting blood glucose, cholesterol, (via test kit) body mass index (BMI), waist to hip ratio (WHR) and chronic illness as well. Phase 2, the model was setup through commitment among the elders and researchers. The 8 trained health leaders (THL) were assigned to accompany with 5-8 elders who was nearby their home for 3 months. The THLs give information related to nutrition and health and join with ageing activities. Phase 3, focus on model evaluation by repeating survey and comparing the results with Wilcoxon Sign Rank Test. The findings showed at the first test that more than one third of the sample was risk to obese and metabolic status because some health parameters were higher than normal such as blood glucose, cholesterol, BMI and WHR. Most of the sample participated with THL on changing dietary behavior program and food record 3 months continuously. After that period of time, second survey was done for evaluation. There were found blood glucose and cholesterol significantly better (p<0.05). However, due to very short period intervention the results should be longer observed.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2559_022.pdf3.42 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น