กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1651
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสมถวิล จริตควร
dc.contributor.authorเศรษฐวัชร ฉ่ำศาสตร์
dc.contributor.authorสุดารัตน์ สวนจิตร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:32Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:32Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1651
dc.description.abstractศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการใช้น้ำตาลกลูโคสที่ได้จากการย่อยแป้งมันสำปะหลังเป็นแหล่งคาร์บอนต่อการเจริญและผลิตกรดไขมันของทรอสโทไคตริดส์ (Aurantiochytrium mangrovei S4TP 072) ในขวดชมพู่และถังหมัก โดยแบ่งออกเป็น 5 การทดลอง คือ 1) เปรียบเทียบการเจริญของ A. mangrovei S4TP 072 ด้วยอาหารที่ใช้น้ำตาลกลูโคสทางการค้าความเข้มข้น 6% และน้ำตาลกลูโคสที่ได้จากการย่อยแป้งมันสำปะหลังที่ความเข้มข้น 6% ด้วยการเลี้ยงแบบเขย่าในขวดรูปชมพู่ พบว่าอาหารที่ใช้กลูโคสที่ได้จากการย่อยแป้งมันสำปะหลังมีผลทำให้ A. mangrovei S4TP 072 เจริญได้ดีกว่าอาหารที่ใช้น้ำตาลกลูโคสทางการค้า 2) การเจริญของ A.mangrovei S4TP 072 ที่เลี้ยงด้วยอาหารที่ใช้น้ำตาลกลูโคสทางการค้า 6% แลพน้ำตาลกลูโคสที่ได้จากการย่อยแป้งมันสำปะหลังความเข้มข้น 6%, 12% และ 18% ด้วยการเลี้ยงแบบเขย่าในขวดรูปชมพู่ พบว่า A.mangroveii S4TP 072 เจริญและผลิตกรดไขมันโดยเฉพาะอีเอชเอได้ดีที่สุด เมื่อเลี้ยงด้วยน้ำตาลกลูโคสที่ได้จากการย่อยแป้งมันสำปะหลังความเข้มข้น 12% 3) การเจริญของ A. mangrovei S4TP 072 ที่เลี้ยงด้วยอาหารที่ใช้น้ำตาลกลูโคสที่ได้จากการย่อยแป้งมันสำปะหลังความเข้มข้น 12% ที่ pH ต่าง ๆ ด้วยการเลี้ยงแบบเข่ายในขวดรูปชมพู่ พบว่า A. mangroveii เจริญและผลิตดีเอชเอได้ดีใกล้เคียงกันทุกระดับ pH 4) การเจริญของ A.mangrovei S4TP 072 ด้วยอาหารที่ใช้น้ำตาลกลูโคสที่ได้จากการย่อยแป้งมันสำปะหลังความเข้มข้น 12%, 18% และ 24% ภายใต้สภาวะที่เหมาะสมในถังหมัก พบว่า A. mangrovei S4TP 072 เจริญและผลิตดีเอชเอได้ดี เมื่อเลี้ยงด้วยน้ำตาลกลูโคสที่ได้จากการย่อยแป้งมันสำปะหลังความเข้มข้น 12% 5) การเจริญของ A.mangrovei S4TP 072 ด้วยอาหารที่ใช้น้ำตาลกลูโคสที่ได้จากการย่อยแป้งมันสำปะหลังความเข้มข้น 12% ภายใต้สภาวะที่เหมาะสม โดยเปรียบเทียบสูตรอาหารที่เติมและไม่เติม 0.0.1% MgCl2 ในถังหมัก พบว่า A. mangroveii S4TP 072 ที่เลี้ยงด้วยสูตรอาหารที่ไม่เติม 0.1% Mgcl2 มีการเจริญดีกว่าสูตรอาหารที่เติม 0.1% MgCl2 ภายใน 4 วัน จากการศึกษาสามารถสรุปสภาวะที่เหมาะสมในการเลี้ยง A. mangroveii S4TP 072 ด้วยน้ำตาลกลูโคสที่ได้จากการย่อยแป้งมันสำปะหลัง คือ ความเข้มข้น 12% pH 6.5 เป็นเวลา 45 ชั่วโมง ได้ปริมาณดีเอชเอและอีพีเอเท่ากับ 18.40 และ 0.14 เปอร์เซ็นต์ของกรดไขมันทั้งหมด ตามลำดับ และกลูโคสที่ได้จากการย่อยแป้งมันสำปะหลังสามารถนำมาเป็นวัตถุดิบทดแทนแหล่งคาร์บอนในการเลี้ยง A mangroveii S4TP 072 เพื่อลดต้นทุนการผลิตในเชิงพาณิชย์ต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2554en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการผลิตth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมอาหารสัตว์th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleศักยภาพในการผลิตทรอสโทไคตริดส์ เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์th_TH
dc.title.alternativePotential production of thraustochytrids for animal feed industriesen
dc.typeResearch
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThis experiment studied the optimal condition inimplementing glucose from cassava starch hydrolysis as a carbon source to grow and produce fatty acids of thraustochytrid (Aurantiochytrium mangrovei S4TP 072) in shake flask and fermenter. This experiment into 5 experiments; 1) compare the growth of A. mangrovei S4TP 072 with 6% commercial glucose and 6% glucose from cassava starch hydrolysis using shake flask. It was found that media used with glucose from cassava starch hydrolysis showed the better growth in A. mangeovei S4TP 072 than that of commercial glucose. 2) The growth of A. mangrovei S4TP 072 in media composed of 6%commercial glucose and 6%, 12% and 18% glucose from cassava starch hydrolysis using shake flask. This found that glucose from cassava starch hydrolysis at a concentration of 12% showed the best growth and DHA production. 3) The growth of A. mangrovei S4TP 072 cultured with 12% glucose from cassava starch hydrolysis at various pH using shake flask. The result showed no differences in growth and DHA production at any pH level. 4) The growth of A. mangrovei S4TP 072 with glucose from cassava starch hydrolysis at the concentrations of 12%, 18% and 24% in the fermenter. It was found that glucose from cassava starch hydrolysis at a concentration of 12% showed the best growth and DHA production. 5) The growth of A. mangrovei S4TP 072 with 12% glucose from cassava starch hydrolysis under the optimal condition with and without 0.1% MgCl2 in fermenter. It was found that the media without 0.1% MgCl2 grew better that that added with 0.1% MgCl2 within 4 days. This results conclude that the optimal condition,12% of glucose from cassava starch hydrolysis at pH 6.5 for 47 hours, could produce DHA and EPA as 18.41 and 0.14 percent of total fatty acid, respectively. The glucose from cassava starch hydrolysis can be used as an alternative carbon source to reduce production cost of A. mangroveii S4TP 072 for commerce.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น