กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1539
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอุไรวรรณ อินทมาโส
dc.contributor.authorพัชรินทร์ โชติช่วง
dc.contributor.authorวรวัฒน์ สุขคำ
dc.contributor.authorวิทยา ภูมิศักดิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:07:10Z
dc.date.available2019-03-25T09:07:10Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1539
dc.description.abstractไวรัสโรตา ซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคที่ติดต่อผ่านทางการกินเป็นสาเหตุหลักของโรคท้องร่วงในเด็กแรกเกิดและเด็กเล็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ขวบ ซึ่งมีการแพร่กระจายอยู่ทุกประเทศทั่วโลก ในปัจจุบันวัคซีนที่ใช้ในการป้องกันเชื้อไวรัสโรตายังมีประสิทธิภาพในการป้องกันไม่ครอบคลุมทุกสายพันธุ์ โครงการวิจัยนี้ได้ตรวจหา G-genotype และ P genotype ของเชื้อไวรัสโรตา จากอุจจาระจากผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับการรักษาตัวที่สถาบันบำราศนราดูรด้วยอาการท้องเสียอย่างรุนแรง จำนวน 128 ตัวอย่าง อุจจาระจากผู้ป่วยถูกนำมาสกัด RNA จากนั้นนำมาตรวจสอบด้วยเทคนิค RT-PCR และเทคนิค Multiplex Semi-Nested PCR เพื่อตรวจสอบ G- หรือ P- genotype จากการวิเคราะห์ด้วย agarose gel electrophoresis นำ DNA เป้าหมายสกัดออกจาก gel แล้วนาไปหาลำดับนิวคลีโอไทด์ด้วย DNA sequencing และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางสายสกุล จากผลการศึกษาพบ G1-G3 genotype ร้อยละ 72.66,7.03, 3.91 ตามลำดับ ร่วมกับ G8 และ G9 genotype ร้อยละ 14.06 และ 1.56 ตามลำดับ ส่วน P genotypes พบ P[8] และ P[4] เท่านั้นที่ร้อยละ 64.85 และ 6.25 ตามลำดับ และไม่พบ P[6] และ P[9] genotypes และสามารถรายงาน ผล G/P combination ได้ทั้งหมด 91 ตัวอย่างจากจำนวนทั้งหมด 128 ตัวอย่าง ได้แก่ G1P[8] จำนวน 58 , G2P[4] จำนวน 8, G2P[8] จำนวน 1, G3P[8] จำนวน 4, G8P[8] จำนวน 18 และ G9P[8] 2 ตัวอย่าง การติดตามความชุกของเชื้อโรตาไวรัสจึงมีประโยชน์มากในการพัฒนาวัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันเชื้อไวรัสโรตาสายพันธุ์ที่กำลังแพร่ระบาดอยู่th_TH
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ที่เป็นเงินอุดหนุนจากรัฐบาล ลักษณะงานวิจัยและพัฒนาถ่ายทอดเทคโนโลยี งบประมาณ 2557en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectโรตาไวรัสth_TH
dc.subjectโรคท้องร่วงth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการตรวจสอบสายพันธุ์และความสัมพันธ์ทางสายสกุลของโรตาไวรัสในผู้ป่วยเด็กที่มีอาการท้องเสียรุนแรงที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลth_TH
dc.title.alternativeThe detection of genotypes and genetic linkage of rotaviruses in admitted pediatric patients with severe diarrheath_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeRotavirus is one of the most important food-borne pathogen that cause diarrhea mainly in babies and children under the age of five all over the world. Currently, available vaccines have efficiency in protection only some strains. This project was aimed at the detection of G-genotype and P-genotype of rotavirus from 128 hospitalized children at Bamrasnaradura Infectious Institute. RNA was extracted form patients’ feces and subsequently detected for G- and P-genotypes by RT-PCR and Multiplex Semi-Nested PCR. Designated DNA bands analyzed by agarose gel electrophoresis were extracted from the gel and analyzed by DNA sequencing and phylogenetic tree. G1-G3 genotypes were found at 72.66%, 7.03%, 3.91%, respectively as well as G8 and G9 genotypes at 14.06 % and 1.56%, respectively. For P-genotype, only P[8] and P[4] genotypes were found at 64.85% and 6.25%, respectively but not P[6] and P[9] genotypes. G/P combinations were reported only 91 samples out of 128 samples such as 58 of G1P[8] , 8 of G2P[4], 1 of G2P[8] ,4 of G3P[8],18 of G8P[8] and 2 of G9P[8] genotype. Monitoring the prevalence of rotavirus is very useful for the development of vaccines that have efficiency in protection of the present rotavirus strainsen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2559_072.pdf1.13 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น