กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1295
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorปัทวี สัตยวงศ์ทิพย์
dc.contributor.authorชัยณรงค์ ศรีมันตะ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:24Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:24Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1295
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความคาดหวังของนิสิตภาควิชาศาสนาและปรัชญาต่อการจัดการเรียนการสอนของภาควิชาศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยบูรพา 2) เปรียบเทียบความคาดหวังของนิสิตภาควิชาศาสนาและปรัชญาต่อการจัดการเรียนการสอนภาควิชาศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยบูรพา กับตัวแปรด้านเพศ ชั้นปีที่ศึกษา ระบบการเรียน และเกรดเฉลี่ย ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีเชิงปริมาณ โดยการศึกษาจากเอกสาร การสำรวจและนำมาวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า ความคาดหวังของนิสิตภาควิชาศาสนาและปรัชญาต่อการจัดการเรียนการสอน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X=3.94) เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า คุณลักษณะของอาจารย์อยู่ในอันดับแรก (X=4.17) ด้านกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในอันดับต่อมา (X=4.17) และด้านการวัดและการประเมินผลอยู่ในอันดับสุดท้าย (X=3.85) และเมื่อเปรียบเทียบความคาดหวังของนิสิตภาควิชาศาสนาและปรัชญาต่อการจัดการเรียนการสอนภาควิชาศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยบูรพา พบว่า ปัจจัยที่มีต่อความคาดหวังของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ ชั้นปีที่แตกต่างกันจะมีความคาดหวังในด้านสื่อประกอบการสอนที่เหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอน ระบบการเรียนที่แตกต่าวกันจะทำให้นิสิตมีความคาดหวังกับคุณลักษณะของอาจารย์และกิจกรรมการเรียนการสอนที่แตกต่างกัน และนิสิตที่มีเกรดเฉลี่ยแตกต่างกันจะมีความคาดหวังกับคุณลักษณะของอาจารย์แตกต่างกันth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ 2556 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectความคาดหวังth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleความคาดหวังของนิสิตภาควิชาศาสนาและปรัชญาต่อการจัดการเรียนการสอนของภาควิชาศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.title.alternativeStudents' expectation towards teaching of Department of Religion and Philosophy Buraphy Universityen
dc.typeResearchth_TH
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to 1) study religious and philosophical students' expectation towards teaching management of Department of Philosophy, Burapha University and 2) compare religious and philosophical students' expectation with their factors namely: sex class teaching system and average marks This research was quantitative and data were collected from related materials such as books research works questionnaires and analyzed by statistics; percentage and mean (x) It was found that students' expectation towards teaching management as a whole was at the high average (x=3.94). Looking from each item it was found that the lecturer's characteristics were at the high level (4.17) and it was followed by teaching activities (x=4.17) and measurement and evaluation (X=3.85) respectively. With regard to students' expectation towards teaching management it was found that students in different class have more expectation on learning materials that are suitable for teaching management. Student in formal and non-formal systems have expectation on lecturers' characteristics and learning activities. Student who hold different average marks have expectation on lectures' characteristics at different level.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2566_138.pdf3.95 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น