กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1287
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุลth
dc.contributor.authorรชนิมุข หิรัญสัจจาเลิศth
dc.contributor.authorชลี ไพบูลย์กิจกุลth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:24Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:24Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1287
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยในครั้งนี้คือ ศึกษาถึงการออกแบบระบบบำบัดน้ำทางชีวภาพในโรงเรือนที่เหมาะสมกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยการใช้สาหร่ายขนาดใหญ่ การศึกษาในครั้งนี้แบ่งออกเป็นหัวข้อใหญ่ของการวิจัย ดังนี้ 1) ศึกษาการดูดซึมของเสียจำพวกแอมโมเนียของสาหร่ายขนาดใหญ่โดยใช้หลักการจลนพลศาสตร์ 2) ศึกษาสรีรวิทยาของสาหร่ายขนาดใหญ่ เพื่อการดูดซึมของเสียจำพวกแอมโมเนีย 3) ศึกษาวิธีการประเมินการเจริญเติบโตของสาหร่ายขนาดใหญ่โดยใช้เทคนิคการถ่ายภาพ และ 4) นำข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาออกแบบระบบบำบัดน้ำทางชีวภาพในโรงเรือนที่เหมาะสมในกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำต่อไป ในเล่มวิจัยนี้ได้รวบรวมผลการวิจัยที่เกี่ยวกับการดูดซึมของจำพวกแอมโมเนียของสาหร่ายขนาดใหญ่ โดยใช้หลักการจลนพลศาสตร์ ผลการทดลองพบว่า สาหร่ายฝอยขัดหม้อใหญ่มีความสามารถในการปรับตัวต่อความเค็มได้ดีกว่าสาหร่ายผักกาดทะเล โดยพบว่าสาหร่ายฝอยขัดหม้อเจริญเติบโตได้ในความเค็ม 10 ppt ในขณะที่สาหร่ายผักกาดทะเลไม่สามารถทนได้ในการทดลองในสภาพห้องปฏิบัติการสาหร่ายฝอยขัดหม้อใหญ่มีความสามารถในการดูดซึมแอมโมเนียมากกว่าสาหร่ายผักกาดทะเลโดยมีค่า V max และ K m เท่ากับ 12.820 mg/g(fw)day และ 0.228 mg-N/L ในขณะที่สาหร่ายผักกาดทะเลมีค่าเท่ากับ 0.891 mg/g(fw)/day และ 0.016 mg-N/L ตามลำดับ ความเข้มแสงสว่างมีผลต่อการดูดซึมของเสียจำพวกแอมโมเนีย โดยพบว่าที่ระดับความเข้มแสง 10,000 ลักซ์ ส่งผลให้การดูดซึมดีกว่า 5,000 ลักซ์ และแสงธรรมชาติตามลำดับth_TH
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2555 คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรีth_TH
dc.subjectการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำth_TH
dc.subjectระบบบำบัดน้ำth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการพัฒนาและออกแบบระบบบำบัดน้ำทางชีวภาพในโรงเรือนที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำth_TH
dc.title.alternativeDevelopment and design of biological treatment system in indoor rearing for aquacultureth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is study the biological water treatment system design in housing appropriate for aquaculture using macroalgae. There were divided into the fourth areas of research as 1) study of the absorption of ammonia waste by the macroalgae using chemical kinetic principles 2) physiological studies of macroalgae to absorb wastes ammonia 3) study to evaluate the growth of macroalgae using Digital Image Processing (DIP) technique and 4) all the data from whole trail in this researches has been designed biological water treatment system in housing appropriate for aquaculture using macroalgae in next step. In this paper, There have compiled research on the absorption of ammonia waste by the macroalgae using chemical kinetic principles. The results showed that Chaetomorpha sp. ability to adapt to salinity than Ulva sp. was grow in salinity 10 ppt, while Ulva sp. could not still grow in the laboratory. Chaetomorpha sp. has ability to absorb ammonia over Ulva sp. with the V max and K m were equal to 12.820 mg/(fw)/day and 0.228 mg-N/L, while Ulva sp. was equal to 0,891 mg/g(fw)/day and 0.016 mg-N/L, respectively. Light affects the absorption of ammonia waste. It was found that the light intensity of 10,000 lux, the better the absorption of 5,000 lux and natural light, respectivelyen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น