กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1150
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorปิยฉัตร ยิ้มศิริ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:01:19Z
dc.date.available2019-03-25T09:01:19Z
dc.date.issued2548
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1150
dc.description.abstractโครงการนี้ศึกษาความเป็นไปได้ในการนำยางธรรมชาติ (Natural rubber, NR) มาทดแทนการใช้ยางสังเคราะห์แซนโตรพรีน (santoprene, SP) โดยคุณสมบัติที่ทำการศึกษาคือ คุณสมบัติทางกลและทางอุณหภูมิ ซึ่งได้แก่ความแข็งแรง (tensile strength) การยืดตัว (%elongation) ความแข็ง (hardness) อุณหภูมิการหลอมตัว (melting temperature, Tm) และอุณหภูมิการเกิดผลึก (crystallinity temperature, Tc) จากการศึกษาพบว่าการใช้ NR อย่างเดียว ไม่สามารถที่จะทำให้ได้คุณสมบัติเทียบเท่า SP ได้ จึงมีการนำ NR มาผสมกับโพลีโพรพีรีน (polypropylene, PP) ซึ่งพบว่าเมื่อเพิ่มปริมาณ PP จะทำให้ค่าความแข็งแรง และความแข็งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ทำให้การยืดตัวมีค่าลดลงที่อัตราส่วนระหว่าง NR:PP ที่ 90:10 ที่เติมแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) ในปริมาณ 10-20 phr คุณสมบัติทางกลและทางอุณหภูมิมีค่าใกล้คุณสมบัติดังกล่าวของ SP แสดงให้เห็นความเป็นไปได้ในการทดแทน SPth_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.subjectยางสังเคราะห์th_TH
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมการไหลและคุณสมบัติทางกลของยางแผ่นและยางแท่งth_TH
dc.title.alternativeThe rheological characterization and mechanical properties of ribbed smoked sheet (RSS) and standard Thai rubber (STR))th_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailpiyachat@buu.ac.th
dc.year2548
dc.description.abstractalternativeThis project studied the feasibility of replacing synthetic rubber (santoprene) with natural rubber (NR) in toothbrush manufacturing. Mechanical properties, such as tensile strength, % elongation and hardness, as well as thermal properties, i.e. melting temperature (T m) and crystallinity temperature (Tc) were investigated. It was found that NR alone cannot be used instead of’ SP due to very poor mechanical properties compared with those of SP. When polypropylene (PP) was mixed with NR, tensile strength and hardness significantly increased, but % elongation decreased. At the NR to PP weight ratio of 90:10 with the addition of CaCO3 10-20 phr, the mechanical properties of these mixtures were comparable to those of SP. Hence, it can be seen that there is a feasibility of using NR to replace SPen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น