กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1014
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจารุนันท์ ประทุมth
dc.contributor.authorวรเทพ มุธุวรรณth
dc.contributor.authorณัฐวุฒิ เหลืองอ่อนth
dc.contributor.authorวิรชา เจริญดีth
dc.contributor.authorวิไลวรรณ พวงสันเทียะth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T09:01:11Z
dc.date.available2019-03-25T09:01:11Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1014
dc.description.abstractกุ้งการ์ตูน (Hymenocera picta, Dana 1852) เป็นกุ้งทะเลที่มีสีสันสวยงามขนาดเล็ก มีมูลค่าในการซื้อขายสูง อาหารที่ใช้เลี้ยงกุ้งการ์ตูนโดยทั่วไปคือดาวแดงซึ่งเป็นข้อจำกัดของการเลี้ยงกุ้งการ์ตูนด้วยดาวแดงอย่างเดียวเพราะดาวแดงมีราคาแพง ต้องหามาได้ในปริมาณมากตลอดปี ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาอาหารชนิดอื่นเพื่อใช้ทดแทนและศึกษาพฤติกรรมของกุ้งการ์ตูนในการยอมรับอาหารแต่ละชนิด ชนิดอาหารที่ทดลองคือ ดาวแดง (Linkia multiflora) ดาวทราย (Astropecten sp.) ดาวแสงอาทิตย์(Holothuria leucospilota) ทำการอดอาหารกุ้งการ์ตูนอายุ 2 เดือน จำนวน 15 ตัว เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ก่อนการทดลองในตู้ทดลองขนาด 15 x 30 x 25 ซม. หลังจากกุ้งการ์ตูนปรับตัวครึ่งชั่วโมงในตู้ทดลองแล้วจึงใส่อาหารแต่ละชนิดลงตู้ในอัตราส่วนกุ้งการ์ตูน:อาหาร 1:1 ทำการบันทึกเวลาและพฤติกรรมกุ้งการ์ตูนด้วยกล้องดิจิตอลและกล้องบันทึกภาพเคลื่อนไหว ผลการทดลองพบกุ้งการ์ตูนยอมรับเฉพาะดาวทราย ดาวแสงอาทิตย์และดาวแดงเป็นอาหาร กุ้งการ์ตูนยอมรับดาวทรายเป็นอาหารเร็วที่สุดและแตกต่างจากการยอมรับดาวอาทิตย์และดาวแดงทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ(P<0.05) พฤติกรรมการยอมรับดาวทรายเป็นอาหารกุ้งการ์ตูนคือกุ้งการ์ตูนล่าดาวทรายอย่างรวดเร็วในครั้งแรกที่เจอดาวทรายและเกาะบนตัวดาวทรายตลอดเวลาก่อนที่จะพลิกให้หงายท้อง พฤติกรรมการยอมรับดาวแสงอาทิตย์และดาวแดงของกุ้งการ์ตูนคือการเดินสำรวจบนขาของดาวทั้งสองชนิดก่อนที่จะกินเป็นอาหาร แสดงว่าพฤติกรรมการกินอาหารของกุ้งการ์ตูนเกี่ยวข้องกับการมองเห็นเหยื่อและการได้รับสัมผัสสารเคมีที่มีในน้ำจากดาวทะเล จากการศึกษาสรุปได้ว่าดาวทรายและดาวแสงอาทิตย์สามารถนำมาเป็นอาหารทดแทนดาวแดงได้อย่างไรก็ตาม ควรมีการศึกษาในระยะยาวถึงผลกระทบของการเลี้ยงกุ้งการ์ตูนด้วยอาหารทดแทนเหล่านี้ต่อการเจริญเติบโต การสืบพันธุ์และการอดตายของกุ้งการ์ตูนth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2554 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectกุ้งการตูน - - อาหาร - - การผลิตth_TH
dc.subjectกุ้งการ์ตูน - - การเพาะเลี้ยงth_TH
dc.subjectกุ้งทะเล - - การเพาะเลี้ยงth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleผลของอาหารต่อการเจริญเติบโต การตาย และการเจริญพันธุ์ของกุ้งการ์ตูน (Hymenocera picta) ที่เกิดจากการเพาะเลี้ยง : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeEffect of foods on growth, survival and maturation of the captive bred harlequin shrimp (Hymenocera picta)en
dc.typeResearch
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeThe colourful harlequin shrimp, Hymenocera picta, Dana 1852 is an attractive marine ornamental species that is popular with fish hobbyists. These are commonly fed on a diet of Linckia starfihs, Linckia multiflora. The high price of starfirh and difficulties in sourcing a ready supply throughout the year, however, represent limitations to their use as the sole diet within commercial scale production. There is, a need to identify alternative foods and to observe the feeding behaviour of shrimp as they are presented with alernative feed items. Afeed trial was set-up whereby the feeding responses of H.picta to Linkia multiflora, Astropecten sp., Luidia maculata, Culcita novaeguineae and Holothuria leucospilota as experimental feeds, were evaluated. A tatal of 45, two-mouth old harequin shrimp were starved for one week prior to starting the feeding trial. All the harlequin shrimps had been placed individually in a 25 x 30 x 25 cm. tank and acclimatised for 30 min prior to place the experimental diet in the tank, at a ratio of 1:1. The time taken by individual shrimp to attack each feed item and their interactive behaviour was determined and recorded using a digital camera set-up. The shrimp were observed to prey upon the Astropecten sp., Luidia maculata and L. multiflora species only. The shirmp readily attacked the species of Astropecten sp. and in manner that was significantly different (P<0.05) from the way in which they preyed upon L. multiflora and L.maculata. The observed feeding behaviours included, shrimp quickly searching often the Astropecten sp, standing on the back of it and flipping it over prior to included careful assessment on the starfish before the shrimp selected a particular leg to feed. These indicated that food searching behavior of the harlequin shrimp was involved both visual and chemical cues. In conclusion, Astropecten and L. maculata appear to repersent favourable alternative H. picata feed items to the use of L. multiflora. Long term inverstigation on the effect of feeding these alternative food items on the growth, reproduction and survival of H. picta, however, should be considered.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น