DSpace Repository

ปัญหาและแนวทางการพัฒนางานวิชาการของโรงเรียนในเขตอำเภอนิคมพัฒนาจังหวัดระยอง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Show simple item record

dc.contributor.advisor ภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.advisor สถาพร พฤฑฒิกุล
dc.contributor.author สุภารัตน์ คงวัง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:15:46Z
dc.date.available 2023-09-18T07:15:46Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9803
dc.description งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในเขตอำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามความคิดเห็นของครูผู้สอน จำแนกตามวุฒิการศึกษา และประสบการณ์การสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นครูผู้สอนในโรงเรียนเขตอำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของ Krejcie and Morgan (1970, pp. 608-609) จำนวน 169 คน และใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือ ใช้ในการเก็บรวบรวม แบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 สอบถามข้อมูลเบื้องต้นของผู้ตอบแบบสอบถามเป็นแบบเลือกตอบ ตอนที่ 2 สอบถามปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนโดยเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .20-.54 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .86 ตอนที่ 3 เป็นแบบปลายเปิดให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการศึกษาวิจัยพบว่า 1. ปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในเขตอำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. การเปรียบเทียบปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในเขตอำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง จำแนกตามวุฒิการศึกษา และประสบการณ์การสอนของครู โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. แนวทางการพัฒนางานวิชาการของโรงเรียนในเขตอำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามความคิดเห็นของครูผู้สอน โดยรวมควรเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อให้สอดคล้องกับท้องถิ่น มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพความต้องการของผู้เรียน ส่งเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างชุมชน องค์กร หน่วยงาน ควรให้ความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน พัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่มีผลต่อการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การศึกษา -- การบริหาร (ประถมศึกษา)
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.title ปัญหาและแนวทางการพัฒนางานวิชาการของโรงเรียนในเขตอำเภอนิคมพัฒนาจังหวัดระยอง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
dc.title.alternative Problems nd guided development for cdmic ffirs dministrtive of the schools in nikhomphttn district ryong province under the office of the bsic eduction commission
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objectives of this research were to investigate problems and guidelines for academic affairs development of schools in Nikhom Phatthana District, Rayong Province, classified by educational levels and instructional experience. The samples were 169 teachers of schools in Nikhom Phatthana District, Rayong Province in academic year 2016. The data were collected by questionnaire which was divided to 3 parts, part I was the demographic data of the teachers, by checklist part II about academic problems of the schools with rating scale. The item discrimination between .20-.54 and the reliability was .86, and part III was open ended questions on guideline for academic development, the data were analyed by mean ( ) standard deviation (SD) and t-test. The results of this research were as follows: 1. The academic affairs administrative problems of the schools, in overall were at a high level. 2. The academic affairs administrative problems of the schools, when classified by educational levels and instructional experience were different with statistical significance at .05 level. 3. The guidelines for academic affairs development of schools in Nikhom Phatthana District, Rayong Province according to the teachers’ opinions were; opening an opportunity for the community to participate in the preparation of the school curriculum to be consistent with the local context emphasis in; Child-center, learning processes according to learners’ needs, promote improvement of the quality of education by using the communities, organizations network, academic knowledge, develop media, innovation and technology for instruction.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account