DSpace Repository

ตัวกรองชีวภาพจากวัสดุธรรมชาติสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเค็มเชิงเศรษฐกิจ

Show simple item record

dc.contributor.author พัฒนา ภูลเปี่ยม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:54:56Z
dc.date.available 2019-03-25T08:54:56Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/972
dc.description.abstract แบคทีเรียดีไนตริไฟอิง จำนวน 24 ไอดซเลต คัดแยกได้จากตัวอย่างดิน 14 ตัวอย่าง กำหนดรหัสเป็น DNB 1-24 เมื่อทดสอบความสามารถในการรีดิวซ์ไนเตรทของแบคทีเรียในอาหารเหลวไนเตรท ปรากฏว่าไอโซเลท DNB 20 มีประสิทธิภาพสูงสุดและไม่พบการเจริญบนอาหาร TCBS agar เมื่อทดลองเลี้ยงฟิล์มชีวภาพของ DNB 20 บนท่อนไม้ไผ่ เปลือกหุ้มลูกมะพร้าวสับเป็นก้อนและพลาสติกไบโอบอล เป็นเวลา 192 ชั่วโมง พบจำนวนแบคทีเรียที่มีความสามารถในการรีดิวซ์ไนเตรทในฟิล์มชีวภาพเท่ากับ 4.58x10 9, 5.87 x 10 9 และ 1.89 x 10 7 MPN/ ลูกบาศก์เซนติเมตร ตามลำดับ เมื่อศึกษาประสิทธิภาพของฟิล์มชีวภาพบนตัวกลางเปลือกหุ้มลูกมะพร้าวสับเป็นก้อนในการกำจัดไนเตรทในน้ำเสียสังเคราะห์ที่มีปริมาณไนเตรท-ไนโตรเจน เริ่มต้นเท่ากับ 100 มิลลิกรัม/ลิตร พบว่าหลังจาก 168 ชั่วโมง ประสิทธิภาพการกำจัดไนเตรทคิดเป็น 77.41 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพของฟิล์มชีวภาพบนตัวกลางเปลือกหุ้มลูกมะพร้าวสับเป็นก้อนในการกำจัดไนเตรทจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำก่อน พบการสะสมของไนเตรท ไนไตรท์ และแอมโมเนียเท่ากับ 0.07 mgNO3-N/L, 0.04 mgNO2-N/L และ 0.19 mgNH3-N/L ตามลำดับ ในช่วง 14 วันของการเลี้ยง ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าวัสดุธรรมชาติที่มีราคาถูก เช่น เปลือกหุ้มลูกมะพร้าวมีประสิทธิภาพเท่ากับวัสดุตัวกลางพลาสติกที่มีราคาแพง นับเป็นข้อได้เปรียบในการนำมาใช้สำหรับบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำขนาดใหญ่ th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2551 สถาบันวิทยาศาตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject น้ำเสีย - - การบำบัด - - การกรอง th_TH
dc.subject ฟิล์มชีวภาพ th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title ตัวกรองชีวภาพจากวัสดุธรรมชาติสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเค็มเชิงเศรษฐกิจ th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2552
dc.description.abstractalternative Twenty-four denitrifying bacteria were isolated from 14 soil samples and designated DNB 1-24. The isolate DNB 20 gave the highest denitrification activity in Nitrate broth medium and non-grow on TCBS agar. Biofilm formation of the isolate DNB 20 on bamboo rod, coconut skin in cubic from, and plastic biofilter (bioball), as supporting material, was studied. The MPN of Nitrate reducer in biofilm on bamboo rod, coconut skin in cubic from, and plastic bioball were 4.58 x 10 9, 5.87 x 10 9 and 1.89 x 10 7 MPN/cm3, respectively, at 192 hours of biofilm growing. The nitrate removal efficacy of the biofilm on the coconut skin in cubic from was determined using a synthetic wastewater with 100 mg/L of nitrate. After 168 hours of treatment, 77.41% of nitrate were removed by biofilm on coconut skin in cubic from. The nitrate removal efficacy of the biofilm on the coconut skin in cubic from for mass culture of larval shrimp (Penaeus monodon). The accumulation of nitrate, nitrite and ammonia in water culture were 0.07 mgNO3 -N/L, 0.04 mgNO2-N/L and 0.19 mgNH3-N/L, respectively, at 14 days of treatment. The results demonstrated that cheap natural material such as coconut skin worked as well as the expensive plastic biofilter. Using cheap natural biofilter is considered to be an advantage for large scale aquaculture. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account