DSpace Repository

การพัฒนาเนื้อดินปั้นและน้ำเคลือบในการทำเครื่องปั้นดินเผาของแหล่งจันทบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:54:53Z
dc.date.available 2019-03-25T08:54:53Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/940
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและปรับปรุงสมบัติของเนื้อดินและน้ำเคลือบที่ใช้ในการทำเครื่องปั้นดินเผาในเขตจังหวัดจันทบุรี ตลอดจนแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ โดยวิเคราะห์หาองค์ประกอบทางเคมีและสมบัติทางกายภาพ (สี, การหดตัวและการดูดซึมมน้ำ) ของดินจากแหล่งต่าง ๆ ที่ใช้ในการเตรียมเนื้อดินและน้ำเคลือบ พบว่าสีของดินที่นำมาศึกษามีโทนสีน้ำตาล และเมื่อนำมาเตรียมเป็นเนื้อดิน พบว่าค่าสัมประสิทธิ์การรขยายตัวเมื่อถูกความร้อนของเนื้อดิน (coefficient of expansion) มีค่าแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของดินที่นำมาเป็นส่วนผสม สำหรับน้ำเคลือบในแต่ละโรงงาน มีการใช้วัตถุดิบหลักสามชนิด ได้แก่ ขี้เถ้าไม้ ดินเลนจากป่าชายเลน และตัวช่วยในการหลอมละลาย โดยพบว่ามีปริมาณขององค์ประกอบทางเคมีที่ใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ยังได้เพิ่มปริมาณของตัวช่วยในการหลอมละลายและชนิดของออกไซด์ให้สีลงในน้ำเคลือบ ทำให้ได้เคลือบที่มีความมันเงาและมีสีหลากหลายมากขึ้นและได้แก้ปัญหาการแตกร้าว-ตำหนิภายหลังการเผาโดยปรับปรุงวิธีการเตรียมเนื้อดิน th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินประจำปีงบประมาณ 2552 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject เครื่องปั้นดินเผา th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.title การพัฒนาเนื้อดินปั้นและน้ำเคลือบในการทำเครื่องปั้นดินเผาของแหล่งจันทบุรี th_TH
dc.title.alternative The properties of clay body and glaze used in pottery production in Chanthaburi en
dc.type Research
dc.year 2552
dc.description.abstractalternative The aim of this research was to investigate and improve the properties of clay body and glaze used in pottery production in Chanthaburi. The problem occurred in the munufacturing process was also solved. The analysis of chemical compositions and physical properties (color, shrinkage and water absorption) of clays from various sources used in preparing clay body and glaze were operated. The color shade of all clay was brown. The coefficients of expansion of clay body after firing were different depending on clay ingredients. In each plant, three main types of raw materials including wood ash, mud from the mangrove forest and flux were commonly used for glaze preparation. It was found that the amounts of the cheenical compositions in the glszes were similar. In addition, the increase of color oxides and fluxes provided more glossy glaze and a wider variety of colors. The cracking problem found after firing was reduced by enhancement of the method of clay body preparation. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account