DSpace Repository

การเก็บรักษาถุงน้ำเชื้อกุ้งขาวและน้ำเชื้อปลาดุกอัฟริกันแบบแช่แข็ง

Show simple item record

dc.contributor.author วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย th
dc.contributor.author สุบัณฑิต นิ่มรัตน์ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:54:50Z
dc.date.available 2019-03-25T08:54:50Z
dc.date.issued 2550
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/903
dc.description.abstract โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาวิธีการเก็บรักษาน้ำเชื้อปลากระพงขาวด้วยวิธีการแช่แข็ง ได้ศึกษาข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาการเก็บรักษาน้ำเชื้อแบบแช่แข็ง โดยได้ศึกษาคุณภาพน้ำเชื้อปลา ศึกษาผลของสารไครโอโพรเทคแทนท์ต่อการเคลื่อนที่สเปิร์ม ศึกษาการพัฒนาวิธีการแช่แข็งน้ำเชื้อด้วยวิธีการต่างๆกัน ศึกษาผลของระยะเวลาการเก็บรักษาน้ำเชื้อแช่แข็งที่มีต่อคุณภาพสเปร์มและประเมินความสามรถในการปฏิสนธิกับไข่ของน้ำเชื้อแช่แข็ง พบว่า น้ำเชื้อปลากระพงขาวในช่วงฤดูผสมพันธุ์วางไข่มีการเปลี่ยนแปลงคุณภาพบางประการ โดยค่าความหนาแน่นของสเปิร์มมีค่าสูงสุดในช่วงฤดูผสมพันธุ์วางไข่ ในขณะที่การเคลื่อนที่ของสเปิร์ม และเปอร์เซนต์การมีชีวิตของสเปร์มมีค่าไม่แตกต่างกันในช่วงฤดูผสมพันธุ์วางไข่ การทดสอบความเป็นพิษของสารไครโอโพรเทคแทนท์ชนิดต่างๆ 10 ชนิด (propylene glycol, acetamide, glycerol,formamide, ethylene glycol, DMSO, ethanol, sucrose,trehalose, methanol) ที่ความแข้มข้นสุดท้าย 4 ระดับ (5% , 10%, 15% และ 20%) ที่เวลา 0, 15, 30, 45 , 60, 120, 150 และ 180 นาที ที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของสเปิร์มปลากระพงขาวปรากฏว่า propylene glycol, acetamide และ DMSO มีความเหมาะสมในการนำมาแช่แข็งน้ำเชื้อปลากระพงขาว แต่เมื่อนำไปแช่แข็งน้ำเชื้อปลากระพงขาวปรากฏว่า DMSO ให้ผลดีที่สุดเพราะสเปิร์มมีการเคลื่อนที่หลังการละลาย (post-thow sperm motility) สูงสุด การแช่แข็งน้ำเชื้อปลากระพงขาวได้พัฒนาทั้งรูปแบบการใช้เครื่องมือลดอุณหภูมิอัตโนมัติ (controlled-rate programmable freezer) และการแช่แข็งอย่างง่ายๆในถังโฟม (simple crypreservation) ภายในหลอดฟาง (French straw) ขนาด 0.25 มิลลิลิตร โดยพบว่าการแช่แข็งด้วยเครื่องมือลดอุณหภูมิอัตโนมัติได้ผลดีที่สุดเมื่อใช้ในอัตราลดอุณหภูมิ -10 C/นาทีในขณะที่การแช่แข็งอย่างง่ายไห้ผลดีที่สุดเมื่อแช่แข็งน้ำเชื้อเหนือผิวหน้าไนโตรเจนเหลว 4 เซนติเมตร การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อให้สามารถเก็บรักษาน้ำเชื้อปริมาณมากขึ้นได้แช่แข็งน้ำเชื้อในหลอดฟาง ขนาด 0.25 และ 0.5 มิลลิลิตร และหลอดไครโอไวออล (cryovial) ขนาด 2 มิลลิลิตร ด้วยการใช้เครื่องมือลดอุณหภูมิอัตโนมัติทำการลดอุณหภูมิด้วยอัตรา – 10 C/นาทีก่อนนำไปเก็บรักษาในไนโตรเจนเหลว พบว่าน้ำเชื้อแช่แข็งที่เก็บรักษาในหลอดฟางขนาด 0.5 ซีซี และหลอดไครโอไวออลขนาด 2 ซีซี มีผลทำให้เปอร์เซนต์การเคลื่อนที่ของสเปิร์มหลังการละลาย (post-thaw sperm motility) มีค่าประมาณ 70% ในขณะที่น้ำเชื้อที่เก็บรักษาในหลอดฟางขนาด 0.25 ซีซี มีค่าประมาณ 25% หลังจากการเก็บรักษาผ่านไป3 เดือน การศึกษาความสามารถในการปฏิสนธิกับไข่ด้วยน้ำเชื้อแช่แข็ง พบว่าน้ำเชื้อแช่แข็งมีความสามารถในการสนธิกับไข่ได้ไม่แตกต่างจากการใช้น้ำเชื้อในการผสมเทียม และให้ค่าเปอร์เซ็นต์การฟักของไข่ที่ไม่แตกต่างทางสถิติ (P>0.05) การศึกษาผลของระยะเวลาการเก็บรักษาน้ำเชื้อที่มีต่อคุณภาพสเปิร์มในระยะเวลา 6 เดือนพบว่าคุณภาพน้ำเชื้อแช่แข็งที่เก็บรักษาไว้นาน 6 เดือนมีคุณภาพไม่แตกต่างกับน้ำเชื้อสด เนื่องจากการเคลื่อนที่ และการมีชีวิตของสเปิร์มไม่แตกต่างกัน การศึกษาในครั้งนี้สามารถพัฒนาวิธีการแช่แข็งน้ำเชื้อปลากระพงขาวที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเพาะพันธุ์ปละกระพงขาวได้ต่อไป th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject กุ้งขาว - - การขยายพันธุ์ th_TH
dc.subject น้ำเชื้อ - - การเก็บและรักษา th_TH
dc.subject น้ำเชื้อแช่แข็ง th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การเก็บรักษาถุงน้ำเชื้อกุ้งขาวและน้ำเชื้อปลาดุกอัฟริกันแบบแช่แข็ง th_TH
dc.title.alternative Cryopreservation of white shrimp (Litopenaeus vannamei) spermatophore and african catfish (Clarias gariepinus) milt th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2550
dc.description.abstractalternative Crypresrvation of seabass (Lates calcarifer) sperm war investigated to gain baseline information of cryoprotectant toxicity on sperm motility and develop suitable freezing protocols, based on studies about sperm quality, effects of cryoprotectants on sperm motility, various freezing methods, effects of storage period on post-thaw sperm quality and fertilization capacity. Change in sperm quality was observed with the presence of highest sperm concentrations during the peak of spawning season while sperm motility and sperm viability seemed to be unchanged. Ten cryoprotectact (propylene glycol, acetamide, glycerol, formamide, ethylene glycol, ecetamide and DMSO, ethanol, sucrose, trehalose, methanol) were used to dilute semen at four concentration levels (5, 10, 15 and 20%). After exposure for 0, 15, 30, 45, 60, 90, 120, 150 and 180 min., propylene glycol, acetamide and DMSO were suitable cryoprotectants for further development of cryopreservation protocol although DMSO was the most suitable cryoprotectant. Cryopreservation of L. calcarifer sperm was accomplished based on development of freezing protocols using both controlled rate programmable freezer and simple cryopreservation in the Styrofoam box. The best freezing protocols from using a controlled rate programmable freezer wae -10C/min before plunging in liquid nitrogen whereas a simple cryopreservation in the was achieved by freezing above liquid nitrogen surface 4 cm before plunging in liquid nitrogen. Refinemant of cryopreservation protocol was designed to cryopreserve a lager volume of milt based on freezing milt at -10C/min in 0.25 and 0.5 mL French straw and 2 mL cryovial. Highest post-thaw sperm molitity (about 70%) was observed in 0.5 mL French straw and 2 mL cryovial after storage in liquid nitrogen for 3 months while thae preserved in 0.25 mL French straw was only 25% fertilization capacity of cryopreserved sperm was not significantly different with fresh sperm. This studies developed sperm cryopreservation methods for seabass and could be applied for breeding for breeding purpose in this species. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account