DSpace Repository

การวิจัยปฏิบัติการจัดทำแผนกลยุทธ์แบบบูรณาการสำหรับพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงวัยระดับท้องถิ่น

Show simple item record

dc.contributor.author กุหลาบ รัตนสัจธรรม
dc.contributor.author พิศมัย เสรีขจรกิจเจริญ
dc.contributor.author วัลลภ ใจดี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:54:47Z
dc.date.available 2019-03-25T08:54:47Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/849
dc.description.abstract การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมนี้ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ และวิธีการจัดการคุณภาพขีวิตผู้สูงวัยในท้องถิ่น วิเคราะห์ทางเลือก สังเคราะห์จัดทำแผนและคู่มือแผนฯ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงวัย 408 คน ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ นายกและปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล ผู้ใหญ่บ้าน และผู้นำชุมชนรวม 40 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ และแนวคำถาม มีค่าความเที่ยงอยู่ระหว่าง .82-.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ถอถอยเชิงเส้นพหุแบบขั้นตอน วิเคราะห์เนื้อหา และการตรวจสอบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิตผู้สูงวัยที่ศึกษา ส่วนใหญ่ป่วยเป็นโรคกระดูกและกล้ามเนื้อ ร้อยละ 42.4 มีพฤติกรรมออกกำลังกายร้อยละ 93.9 รับประทานอาหารเหมาะสมปานกลาง ร้อยละ 49.8 มีค่าดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 41.2 ยังใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นน้อยกว่า ร้อยละ 40.0 มีสภาพความเสี่ยงทางด้านจิตใจ และเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมน้อยกว่าร้อยละ 50.0 มีคุณภาพชีวิตทางจิตวิญญาณมากกว่าร้อยละ 80.0 ปัจจัยกำหนดคุณภาพชีวิต ที่มีนัยสำคัณทางสถิติ (p<.01) คือ การได้รับการดูแล การออกกำลังกาย ไม่สูบบุหรี่ และการรับประทานอาหาร การปฏิบัติกิจทางศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่น ไม่มีโรคประจำตัว และได้รับสวิสดิการจากหน่วยงานสาธารณสุข วิธีการจัดการคุณภาพชีวิตผู้สูงวัยปัจจุบันคือได้รับบริการ และสวัสดิการจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมากกว่าร้อยละ 20 ในเรื่องการให้ความรู้เรื่องโรค การติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้องรัง และจัดแกนนำชมรมส่งเสริมสุขภาพ การร่วมทำประชาคมหมู่บ้าน บริการพ่นหมอกควันป้องกันไข้เลือดออก ออกเยี่ยมบ้าน จัดกองทุน สนับสนุน/สวัสดิการ จัดการสิ่งแวดล้อมรอบตัวให้ปลอดภัยในส่วนขอองแผนและการจัดการคุณภาพชีวิตผู้สูงวัยของชุมชนในปัจจุบันและย้อนหลัง 3 ปี ส่วนใหญ่เน้นคุณภาพชีวิตทางกายและคุณภาพชีวิตทางจิตวิญญาณ ส่วนในมิติจิตใจและสังคมยังไม่เน้นมากนัก การสังเคราะห์เพื่อกำหนดทางเลือกและแผนกลยุทธ์แบบบูรณาการจึงให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตทุกด้านโดยเน้น มิติจิตใจและสังคมเพิ่มขึ้น ประกอบด้วยการกำหนดบทบาทและการประสานงานของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้ชัดเจนทั้งองค์การบริหารส่วนตำบล องค์กรสาธารณสุข ครอบครัว เครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ โดยกำหนดให้มีแผนปรับ/ เพิ่มบริการและสวัดิการสุขภาพ เพิ่มทักษะและการรับรู้ของผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพและโรคประจำตัว จัดตั้งอาสาสมัครตรวจคัดกรองสุขภาพ จัดเงินทุนส่งเสริมอาชีพผู้สูงวัยและผู้ดูแล จัดประกวดครอบครัวตัวอย่าง สร้างครอบครัวสัมพันธ์ จัดตลาดค้าชุมชนผักปลอดสารพิษ เพิ่มอาสาสมัครผู้สูงอายุ เพิ่มบริการ/กิจกรรมทางศาสนาและวัฒนธรรมที่น่าสนใจแก่ผู้สูงอายุ ซึ่งผลการประเมินความสอดคล้องและการนำไปใช้ของแผลกลยุทธ์ฯ และคู่มือ อยู่ในเกณฑ์ดีถึงดีมาก ดังนั้นแผลกลยุทธ์และคู่มือนี้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในการช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงวัยที่มีประสิทธิภาพ th_TH
dc.description.sponsorship ทุนสำนักบริหารโครงการการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พฤศจิกายน 2554 th_TH
dc.language.iso ภาษาไทย th_TH
dc.publisher คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ผู้สูงอายุ th_TH
dc.subject คุณภาพชีวิต th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.title การวิจัยปฏิบัติการจัดทำแผนกลยุทธ์แบบบูรณาการสำหรับพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงวัยระดับท้องถิ่น th_TH
dc.title.alternative Integgrated strategic plan management action research for improving elderly quality of life at local level en
dc.type งานวิจัย
dc.author.email koolarb@buu.ac.th
dc.author.email pisasere@buu.ac.th
dc.author.email wanlopj@buu.ac.th
dc.year 2554
dc.description.abstractalternative This participatory action research aims to analyze the situation and management of elderly quality of life in a local level, analyze alternative, synthesize integrative strategic plan and guide book. Samples are 408 elders and 40 key informants including the Chief Executive and Chief Administrator of the SAO (Sub-district Administration Organization), and leaders of seven communities. Data were collected by interview questionnaire and guideline. The reliability coefficients of the questionnaire were .82-.95. Data were analyzed by applying descriptive statistics, step wise multiple linear regressions, content analysis and triangulation technique. The research results reveal: The quality of life of the elders: 42.4 percent of them have normal body mass index, less than 40 percent still used a local wisdom, and 50 percent of them have risk to mental problem and participation in social activities, and more than 80 percent of them have spiritual quality of life. Determinants of quality of life has statistical significance(p<0.1); that is, being taken care, exercise, no smoking, and food taking, participating religious and cultural activities at local level, no underlying diseases, and receiving welfare from public health organizations. Present methods of managing quality of life consisted of receiving service and welfare from related organizations for more than 20 percent in terms of being given information on diseases and follow-up and receiving care for chronic-illness patients, organizing health promotion clubs, participating in village assembly, service for fogging to prevent Dengue Hemorrhagic fever, home visits, organizing supportive/ welfare fund and organizing surrounding environment. In part of plan and management of elderly quality of life in the community at present and in the last three years period, most emphasize physical quality of life and spiritual aspect while mental and social dimensions are rarely emphasized. The synthesis to identify alternative and integrated strategy highlights the development of all aspects of quality of life, focusing more on mental and social dimensions, including identification of roles and cooperation of various related organization, included Sub-district Administration Organization, public health organizations, families, and elderly clubs,requiring to revise plans/ increase health services and welfare, enhance skills and capacities of the elderly in self-care and illness management, set-up the voluntary screening health teams, organize the financial fund supporting occupation and care, identify the family models, enhance family relation activities, organize organic market in the community, include volunteers among the elder, and organize and promote the religious and cultural activities for the elders. The assessment of relevance and application of strategic plan and manual are graded at the good and very good levels. Therefore, the strategic plan and manual are recommended to apply to enhance the quality of life of the elderly efficiently en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account