DSpace Repository

โครงการ ฮีตสิบสองคองสิบสี่ในหมู่บ้านชำโสม จังหวัดปราจีนบุรี: การคงอยู่และการเปลี่ยนแปลง

Show simple item record

dc.contributor.author นพดล พรามณี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:53:11Z
dc.date.available 2019-03-25T08:53:11Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/805
dc.description.abstract การวิจัยครั้งเป็น วิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากชาวบ้านจำนวน 11 คน และทำการสนทนากลุ่ม 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มผู้นำหมู่บ้านโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีต่อ ฮีต- คอง 2) การอธิบาย ฮีต- คองในบริบทใหม่ของสังคมและปัจจุบันและ 3) ความเป็นไปได้ในการนำฮีต – คอง มาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาสังคม ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนให้คุรค่าความหมายของ ฮีต-คองผ่านการสามัคคีในชุมชุนความอบอุ่นในครอบครัว และความเป็นระเบียบในชุใชน โดยชุมชนเชื่อว่าฮีต - คองสามารถดำรงอยู่ได้เนื่องจากคนในชุมชนมีความเชื่อในหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา การปฏิบัติสือต่อกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ(ฮีตเก่าม คลองหลัง) และการปรับเปลี่ยนวิถีปฏิบัติให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนไปของสังคม ส่วนการเปลี่ยนแปลงไปของฮีต – คอง คนในชุมชนเชื่อว่ามรสาเหตุมาจากการไม่มีเวลาเข้าร่วมกิจกรรม การขาดผู้นำในการสือสาน การรับเอาวัฒนาธรรมต่างถิ่นมาเผบแพร่ และบทบาทของสมาชิกในครอบครัวเปลี่ยนไป ทั้งนี้เนื่องจากวิถีชีวิตของคนในชุมชนได้เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงฮีต – คอง ต่อวิถีชีวิตในชุมชน ชาวบ้านเห็นว่าความมีน้ำใจไมตรีของคนในชุมชนลดลง สัมพันธนาการของสมาชิกในครอบครัวเปลี่ยนไป และการเคารพนับถือกันน้อยลง ยุทธศาสตร์ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูฮีต – คอง กลุ่มผู้นำหมู่บ้านแนะนำว่า ควรจะมีบุคคลที่เป็นตัวขับเคลื่อนการอนุรักษ์ฟื้นฟู ฮีต – คอง และสร้างกลยุทธที่ใช้ในการอนุรักษ์ฟื้นฟู ฮีต- คอง ข้อเสอนแนะในการประยุกค์ผลการวิจัย ระดับบุคคล – ทุกคนในหมู่บ้านจะต้องณุ้และเข้าใจทั้ง 4 หมวดหมู่หลัก ได้แก่ 1) คุณค่า ความหมายของ ฮีต-คอง 2)การดำรงอยู่ของ ฮีต-คองท 3)สาเหตุที่ทำให้ฮีต – คอง เปลี่ยนแปลง และ 4)ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง ฮีต-คอง ต่อวิถีชีวิตคนในชุมชนก่อนที่จะให้คนมาร่วมกันทำยุทธศาสตร์ เพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการอนุรักษ์ฟื้นฟู ฮีต-คอง ระดับผู้นำชุมชน ผู้นำควรนำแผนยุทธศาสตร์ไปนำเสนอต่อผู้บริหารระดับสูงขึ้น เพื่อของบประมาณสำหรับอนุรักษ์ฟื้นฟู ฮีต-คอง ในชุมชน ส่วนระดับประเทศ ควรให้การสนับสนุนยุทธศาสตร์การอนุรักษ์ฟื้นฟู ฮีต-คอง นำสนอจุดเด่นของชุมชนเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวหรือผู้สนใจ มาท่องเที่ยวหรือศึกาหาความรู้ ซึ่งเป็นการสร้างงานเพื่อชุมชน th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดยสำนักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การอนุรักษ์ th_TH
dc.subject จารีตประเพณี th_TH
dc.subject วัฒนธรรม th_TH
dc.subject ฮีตสิบสอง th_TH
dc.subject สาขาสังคมวิทยา th_TH
dc.title โครงการ ฮีตสิบสองคองสิบสี่ในหมู่บ้านชำโสม จังหวัดปราจีนบุรี: การคงอยู่และการเปลี่ยนแปลง th_TH
dc.title.alternative Heet 12 kong 14 (Thai Traditions) in chamsom village, Prachinburi province: persistence and Change th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative This qualitative research case study used an in-depth interview to gather the data on thai traditions. The focus group was also used in order to gather the data from three different group: young group-senior people group-and leaders group. The purposes of this study were to study: 1) the social change that affect Heet 12 and kong 14 (Heet-Kong); 2) the explanation of Heet-Kong for the new context of the current society and 3) the possibility of applying Heet-Kong to solve social problems. The study found that the community gives value to Heet-Kong by considering the unityof the community, the warmth of the family, and the regularity of the community. People in the community believe that Heet-Kong can exist until now because people believe in the doctrine of Buddhism, the tradtion since ancient times, and the adjustment in accordance with the practices of social change. As for the change of Heet-Kong, people in the community believe that it is caused by not having enough time to join in Heet-Kong’s activities, lacking leaders for inheritance, the absorption and acceptance of another culture to disseminate in the community, and the role of family members have changed. This is because the lives of people in the community have changed according to the era. The impact of the changes of Heet-Kong on the way of life in the community has occurred as follows: the spirit of generosity in the community has decreased, the relationship in the family have changed, and people in the community have less respect. For conservative strategies of the Heet-kong, the village leaders suggested to have someone to lead and create the conservative strategies. This study is recommended foe three levels: the individual level, the community level, and national level. For the individual level. Everyone in the village has to know and understand the four major themes: 1) value and meaning of Heet-Kong; 2)the existence of Heet-Kong; 3) the causes that change Heet-Kong, and 4) the impact of the changes of Heet-Kong on the way of life in the community prior to creating an efficient and effective strategic plan in order to conserve the Heet-Kong traditions. For the village leaders, the leaders should propose a strategic plan to the executive level in order request for a budget for rehabilitating the Heet-Kong. For the national level, the government should support strategies for rehabilitating Heet-Kong by presenting the attractive places, product, and service in the community to attract tourists’ attention for traveling. By doing things may help the community to create jobs. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account