DSpace Repository

การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานหน่วยการเรียนรู้สารชีวโมเลกุลโดยประยุกต์ใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.advisor มณเทียร ชมดอกไม้
dc.contributor.advisor ปริญญา ทองสอน
dc.contributor.author อัครเดช จำนงค์ธรรม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:29:43Z
dc.date.available 2023-05-12T03:29:43Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7063
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (กศ.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลการใช้หลักสูตรรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้สารชีวโมเลกุล โดยประยุกต์ใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร มีขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ขั้นที่ 2 การสร้างหลักสูตร ขั้นที่ 3 การทดลองใช้หลักสูตร และขั้นที่ 4 การประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนาหลวง สำนักงานเขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 42 คน โดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินความสามารถในการสร้างสรรค์ชิ้นงานตามแนวคิดสะเต็มศึกษา และแบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที t-test (Dependent sample) ผลการวิจัย พบว่า 1. ได้หลักสูตรรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้สารชีวโมเลกุล โดยประยุกต์ใช้ การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่มี 8 องค์ประกอบ ได้แก่ สภาพปัญหาและความจำเป็น หลักการ จุดมุ่งหมาย โครงสร้างเนื้อหาและเวลาเรียน ตัวชี้วัด กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล ผลการประเมินคุณภาพหลักสูตรโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ทุกองค์ประกอบมีความเหมาะสม 2. ผลการทดลองใช้หลักสูตร ปรากฏว่า 2.1 ค่าเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2.2 ค่าเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2.3 ค่าเฉลี่ยคะแนนความสามารถในการสร้างสรรค์ชิ้นงานตามแนวคิดสะเต็มศึกษาของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2.4 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้สารชีวโมเลกุล ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคการจัดการความรู้อยู่ในระดับมาก
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา) -- หลักสูตร
dc.subject ระบบการเรียนการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subject การวางแผนหลักสูตร
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
dc.title การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานหน่วยการเรียนรู้สารชีวโมเลกุลโดยประยุกต์ใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
dc.title.alternative Curriculum development of bsic science course on biomolecules lerning unit through stem eduction pproch pplied for mtthyomsuks iv students in schools under bngkok metropolitn
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objective of this study was to develop and examine the consequences of basic science course’s curriculum on the topic of biomolecules through STEM study by applying learning management approach for Matthayomsuksa IV students in schools under Bangkok Metropolitan. There were four phases in developing the curriculum; 1) study basic information of the course, 2) create the curriculum, 3) pilot the curriculum, 4) evaluate the curriculum by examining the result of the assessment from 42 Matthayomsuksa IV students, Naluang School. The sample was selected using cluster random sampling. The instruments exploited in this study were course management plan, achievement test, evaluation of innovation according to STEM study, evaluation of satisfaction. The statistics used in this study were mean, standard deviation, and t-test. The finding of the study were as follows; 1. The curriculum of basic science course’s curriculum on the topic of biomolecules through STEM study by applying learning management approach for Matthayomsuksa IV students in schools under Bangkok Metropolitan which comprises 8 components, namely problems and necessities, principles, objectives, structures, contents, and time allocation, indicators, learning procedures, instructional media, and evaluation was appropriate and qualified approval due to the curriculum evaluation of the academic expert. 2. The finding of the pilot of the curriculum were as follows; 2.1 The average scores of students’ posttest were higher than students’ pretest at significant .01 level. 2.2 The average scores of students’ posttest were higher than the standard at significant .01 level. 2.3 The average scores of students’ innovation related to STEM study were higher than the standard at significant .01 level. 2.4 Students were satisfied with basic science course on the topic of biomolecules through STEM study by applying learning management approach in high level.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline หลักสูตรและการสอน
dc.degree.name การศึกษาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account