DSpace Repository

Browsing รายงานการวิจัย (Research Reports) by Author "ณิษา สิรนนท์ธนา"

Browsing รายงานการวิจัย (Research Reports) by Author "ณิษา สิรนนท์ธนา"

Sort by: Order: Results:

  • จันทร์จรัส วัฒนะโชติ; รวิวรรณ วัฒนดิลก; ณิษา สิรนนท์ธนา (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559)
    จากการนำเชื้อแอคติโนมัยซีทที่แยกได้จากดินตะกอนป่าชายเลน จำนวน 4 ไอโซเลท ศึกษาการผลิตสารสีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และความสามารถในการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ โดยเลี้ยงในอาหารแตกต่างกัน 3 สูตร ได้แก่ ISP2 ISP3 และ OYG (oatmeal ...
  • จารุนันท์ ประทุมยศ; ณิษา สิรนนท์ธนา (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2556)
    กุ้งการ์ตูน (Hymenocerapicta, Dana 1852) เป็นกุ้งทะเลสวยงามที่มีมูลค่าในการซื้อขายสูงการขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความต้องการกรดไขมันของลูกกุ้งการ์ตูนเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้การเพาะเลี้ยงลูกกุ้งการ์ตูนประสบปัญหาการรอดตายต่ำ ...
  • จารุนันท์ ประทุมยศ; ณิษา สิรนนท์ธนา; ศิริวรรณ ชูศรี; ธนกฤต คุ้มเศรณี (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา., 2560)
    พฤติกรรมการกินดาวทะเลโดยเฉพาะดาวแดง (Linckia multifora) ของกุ้งตัวตลก (Hymenocera picta) เป็นอุปสรรคต่อการเพาะเลี้ยงในฟาร์มและต่อการขยายกิจการให้เป็นเชิงพาณิชย์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักคือผลิตอาหารสำเร็จรูปกุ้งตัวตล ...
  • ณิษา สิรนนท์ธนา; จารุนันท์ ประทุมยศ; ชนะ เทศคง; วีณา เคยพุดซา (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559)
    สัตว์ทะเลกลุ่มเอคไคโนเดิร์มเป็นแหล่งอาหารในธรรมชาติ ของกุ้งตัวตลก (Hymenocera picta) จากการศึกษาคุณค่าอาหารใน ดาวทะเล 10 ชนิด และปลิงทะเลจำนวน 4 ชนิด พบปริมาณ เถ้า ไขมัน โปรตีน ในตัวอย่างดาวทะเลและปลิงทะเล มีความแตกต่างก ...
  • รวิวรรณ วัฒนดิลก; ณิษา สิรนนท์ธนา (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558)
    จากผลการดำเนินงานวิจัยทั้ง 6 โครงการย่อยในปีที่ 2 ซึ่งแต่ละโครงการวิจัยได้ดำเนินการวิจัยตามแผนงาน สรุปได้ดังนี้ ในปีที่ 2 ทำการเก็บตัวอย่างฟองน้ำทะเลบริเวณหมู่เกาะเต่า อ.เกาะพงัน จ.สุราษฎร์ธานีระหว่างวันที่ 24-24 เมษายน ...
  • รวิวรรณ วัฒนดิลก; ณิษา สิรนนท์ธนา (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2557)
    จากผลการดำเนินงานวิจัยทั้ง 6 โครงการย่อยในปีที่ ในแตะละโครงการวิจัยสามารถดำเนินการวิจัยได้ตามแผนงาน ซึ่งสรุปได้ดังนี้ 1. ตัวอย่างฟองน้ำทะเลที่เก็บจากหมู่เกาะใต้ อ. ขนอม จ. นครศรีธรรมราช จาก 4 จุด สำรวจ จำนวน 94 ตัวอย่าง ...
  • ณิษา สิรนนท์ธนา; จารุนันท์ ประทุมยศ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2556)
    จากการหาชนิดและปริมาณกรดไขมันในฟองน้ำทะเลบริเวณเกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยเก็บตัวอย่างเดือนมีนาคม 2555 ทำการแยกกลุ่มของไขมันในตัวอย่างฟองน้ำด้วยเทคนิค Solid phase extraction (SPE) จากนั้นหาชนิดและปริมาณกรดไขมันด้วย ...
  • ณิษา สิรนนท์ธนา (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2554)
    จากการหาชนิดและปริมาณกรดไขมันในฟองน้ำทะเลบริเวณหินหลักแรดจังหวัดชุมพร โดยเก็บตัวอย่างเดือนมีนาคม 2554 สกัดหาปริมาณไขมันรวมด้วยวิธีของ Bligh & Dyer ทำการแยกกลุ่มของไขมันในตัวอย่างฟองน้ำด้วยเทคนิค Solidphase extraction (SPE) ...
  • ณิษา สิรนนท์ธนา; จันทร์จรัส วัฒนะโชติ; มะลิวัลย์ คุตะโค (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561)
    จากการทดสอบค่ากิจกรรมเอมไซม์ ที่มีคุณสมบัติในการย่อยสับสเตรทของเชื้อแอคติโนมัยซีท 30 ไอ โซเลต ที่เลี้ยงในอาหารเหลว ISP2 ความเค็ม 17 ppt. ค่าความเป็นกรดด่าง 6.2 อุณหภูมิ 30 องศา เซลเซียส เป็นเวลา 4 วัน พบเชื้อแอคติโนมัยซีท ...
  • จารุนันท์ ประทุมยศ; สุพรรณี ลีโทชวลิต; ณิษา สิรนนท์ธนา; ศิริวรรณ ชูศรี (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558)
    ในธรรมชาติปลาแมนดารินเขียว (Synchiropus splendidus) กินแพลงก์ตอนสัตว์ขนาดเล็กและขนาดใหญ่แต่แพลงก์ตอนสัตว์เหล่านี้เพาะเลี้ยงยากในที่กักขัง อาร์ทีเมียแต่ หาได้ง่าย เจริญเติบโตเร็วซึ่งเป็นอาหารทางเลือกในการเลี้ยงปลาแมนดาริน ...
  • อมรรัตน์ กนกรุ่ง; ณิษา สิรนนท์ธนา; สุพัตรา ตะเหลบ; คคนางค์ รัตนานิคม (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2562)
    จากการวิจัยได้ทำการคัดแยกสาหร่ายขนาดเล็กกลุ่มไดอะตอมเพื่อใช้เป็นเชื้อบริสุทธิ์ (pure microalgae) สำหรับการทดลองจำนวน 10 ชนิด คือ Chaetoceros sp., Ododtella sp., Thalassiosira sp., Actinoptyclus sp., Amphora sp., Bellerochea ...
  • ศรัญญา ยิ้มย่อง; ธันย์ชนก ศิริรักษ์; สิริกุล กวมทรัพย์; ณิษา สิรนนท์ธนา (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2566)
    ในกระบวนการผลิตปลามักมีเศษวัสดุเหลือทิ้งอย่างเช่นเกล็ดปลาซึ่งเป็นแหล่งของคอลลาเจน ดังนั้น จึงทำการวิเคราะห์หาองค์ประกอบทางเคมี การสกัดคอลลาเจนที่ละลายได้ในกรดอ่อนร่วมกับคลื่นไมโครเวฟ และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของคอลลาเจนจาก ...
  • ณิษา สิรนนท์ธนา; จารุนันท์ ประทุมยศ; จันทร์จรัส วัฒนะโชติ; สมรัฐ ทวีเดช (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559)
    การศึกษาศักยภาพของจุลินทรีย์ทะเลในครั้งนี้ มุ่งเน้นการหากรดไขมันชนิดจำเป็นจากตัวอย่างยีสต์ ตัวอย่างแอคติโนมัยซีท เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของกรดไขมันชนิดจำเป็น และได้มีการทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียกกลุ่มวิบริโอที่ก่อโร ...
  • ณิษา สิรนนท์ธนา; จารุนันท์ ประทุมยศ; จันทร์จรัส วัฒนะโชติ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2556)
    จากการศึกษาชนิดและปริมาณกรดไขมันที่จำเป็นสำหรับสัตวืน้ำจากยีสต์ 6 ชนิด ที่คัดแยกจากน้ำทะเลบริเวณชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี จากแอคทีโนมัยซีท 20 ชนิด คัดแยกจากกินตะกอนในจังหวัดจันทบุรี ชลบุรี นครศรีธรรมราช และจากแอคทีโนมัย ...
  • ณิษา สิรนนท์ธนา; จารุนันท์ ประทุมยศ; จันทร์จรัส วัฒนะโชติ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558)
    การเลี้ยงยีสต์ Pichia sp. ในอาหารเลี้ยงเชื้อกากชานอ้อยที่ความเค็ม 25 พีพีที เป็นเวลา 96 ชั่วโมง พบการเจริญสูงสุดในระยะเวลาการเลี้ยงที่ 72 ชั่วโมง จากการวิเคราะห์องค์ประกอบกรดไขมันในตัวอย่างเซลล์ ยีสต์ พบกรดไขมันชนิดอิ่มตัว ...
  • จารุนันท์ ประทุมยศ; ณิษา สิรนนท์ธนา; อมรรัตน์ กนกรุ่ง; วิรชา เจริญดี (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560)
    แผนงานวิจัยเทคโนโลยีการผลิตอาหารสําเร็จรูปกุ้งตัวตลก (Hymenocera picta) มีวัตถุประสงค์ หลักเพื่อผลิตอาหารสําเร็จรูปสําหรับเลี้ยงกุ้งตัวตลกเพื่อทดแทนการเลี้ยงด้วยดาวทะเลมีชีวิต มีระยะเวลา การวิจัย 3 ปี (2559-2561) ...
  • จารุนันท์ ประทุมยศ; ณิษา สิรนนท์ธนา; อมรรัตน์ กนกรุ่ง; วิรชา เจริญดี; วิไลวรรณ พวงสันเทียะ (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560)
    แผนงานวิจัยเทคโนโลยีการผลิตอาหารสำเร็จรูปกุ้งตัวตลก (Hymenocera picta) มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อผลิตอาหารสาเร็จรูปสำหรับเลี้ยงกุ้งตัวตลกเพื่อทดแทนการเลี้ยงด้วยดาวทะเลมีชีวิต มีระยะเวลาการวิจัย 3 ปี (2559-2561) แผนงานวิจัยป ...
  • จารุนันท์ ประทุมยศ; สุพรรณี ลีโทชวลิต; ณิษา สิรนนท์ธนา; ศิริวรรณ ชูศรี (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559)
    เดือนในธรรมชาติปลาแมนดารินเขียว (Synchiropus splendidus) กินแพลงก์ตอนสัตว์ขนาดเล็กและขนาดใหญ่แต่แพลงก์ตอนสัตว์เหล่านี้เพาะเลี้ยงยากในที่กักขัง อาร์ทีเมียแต่ ทำได้ง่าย เจริญเติบโตเร็วซึ่งเป็นอาหารทางเลือกในการเลี้ยงปลาแมน ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account