DSpace Repository

Browsing รายงานการวิจัย (Research Reports) by Author "กฤษณะ ชินสาร"

Browsing รายงานการวิจัย (Research Reports) by Author "กฤษณะ ชินสาร"

Sort by: Order: Results:

  • กฤษณะ ชินสาร; สุวรรณา รัศมีขวัญ; สุนิสา ริมเจริญ; อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์; ภูสิต กุลเกษม; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; จรรยา อ้นปันส์; วุฒิชัย เหลืองเรืองรอง (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2556)
    สิ่งซึมเยิ้มข้นที่เกิดขึ้นในจอตาของผู้ป่วยเบาหวานเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อการมองเห็นของคนไข้เบาหวาน และเป็นสาเหตุสำคัญของโรคตาบอดของผู้ป่วยเบาหวาน และเนื่องจากปัจจุบันนี้มีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีอาการลักษณะดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น ...
  • กฤษณะ ชินสาร; สุวรรณา รัศมีขวัญ; สุนิสา ริมเจริญ; อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์; ภูสิต กุลเกษม; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; จรรยา อ้นปันส์; เอกจิต แซ่ลิ้ม (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2555)
    สิ่งซึมเยิ้มข้นที่เกิดขึ้นในจอตาของผู้ป่วยเบาหวานเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อการมองเห็นของคนไข้เบาหวาน และเป็นสาเหตุสำคัญของโรคตาบอดของผู้ป่วยเบาหวาน และเนื่องจากปัจจุบันนี้มีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีอาการลักษณะดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น ...
  • กฤษณะ ชินสาร; สุวรรณา รัศมีขวัญ; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; ภูสิต กุลเกษม; อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์; จรรยา อ้นปันส์; Ratanak Khoeun; ธนินท์ อินทรมณี (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559)
    โรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตา (Diabetic Retinopathy: DR) เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้สูญเสียการมองเห็น ซึ่งเป็นการสูญเสียที่ร้ายแรงสำหรับผู้ป่วย และสิ่งที่สามารถตรวจพบได้ในระยะเริ่มต้นของโรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตาคือ หลอดเลือดฝอยโป่งพอง ...
  • ภูสิต กุลเกษม; สุวรรณา รัศมีขวัญ; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; กฤษณะ ชินสาร; อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์; ชิดชนก เหลือสินทรัพย์; อภิเชษฐ์ ยาใจ (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559)
    การตรวจจับการล้มในผู้สูงอายุยังคงเป็นหนึ่งในงานที่นักวิจัยยังคงให้ความสนใจอยู่ในปัจจุบัน ด้วยเหตุที่สถานการณ์ประชากรในประเทศกำลังก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมของผู้สูงอายุในเวลาอีกไม่กีปีข้างหน้า ดังนั้นจึงทำให้เกิดความต้องการ ...
  • กฤษณะ ชินสาร; สุวรรณา รัศมีขวัญ; ภูสิต กุลเกษม; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์; ชิดชนก เหลือสินทรัพย์; วุฒิชัย เหลืองเรืองรอง; ศิวกรณ์ อาจรักษา; เสาวลักษณ์ ธรรมนาวาศ; จิราภรณ์ วงวาล; นิลรัตน์ ก้านหยั่นทอง (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบุรพา, 2562)
    โรคต้อหินเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดตาบอด การตรวจหาและการรักษาในระยะแรกนั้นเป็นสิ่งสาคัญเพื่อลดการสูญเสียการมองเห็น การตรวจหาโรคต้อหิน โดยการใช้อัตราส่วนของถ้วยประสาทตาต่อจอประสาทตานั้นต้องการข้อมูลที่แม่นยำ ฉะนั้นการระบ ...
  • กฤษณะ ชินสาร; สุวรรณา รัศมีขวัญ; ภูสิต กุลเกษม; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์; ชิดชนก เหลือสินทรัพย์; วุฒิชัย เหลืองเรืองรอง; นิลรัตน์ ก้านหยั่นทอง; ธนินท์ อินทรมณี; Ratanak Khoeun (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561)
    โรคที่เกิดบนจอประสาทตาของมนุษย์ส่วนใหญ่จะแสดงอาการออกทางจานประสาทตาหรือขั้วประสาทตา (Optic Disc) เช่น โรคเบาหวานและโรคต้อหินเป็นต้น ซึ่งในบางกรณีพบว่ามีสิ่งรบกวนเกิดขึ้นบนภาพถ่ายจอประสาทตา เช่น สัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในขณ ...
  • สุวรรณา รัศมีขวัญ; กฤษณะ ชินสาร; ภูสิต กุลเกษม; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์; ชิดชนก เหลือสินทรัพย์; วัชรพงศ์ อยู่ขวัญ; สิริวรรณ พงษศิริ; อรศิริ สิงขรณ์ (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบุรพา, 2562)
    ในงานวิจัยนี้นำเสนอการสร้างคืนแบบจำลองกระดูกสันหลังส่วนเอวสามมิติของมนุษย์จากภาพถ่ายรังสีพลังงานต่ำเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของแพทย์และ ผู้เชี่ยวชายในงานด้านต่าง ๆ ในขั้นตอนวินิจฉัยทางคลินิก เนื่องจากแบบจำลองสามมิติของกร ...
  • สุวรรณา รัศมีขวัญ; กฤษณะ ชินสาร; ภูสิต กุลเกษม; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; จรรยา อ้นปันส์; อลิสรา วงศ์สุทธิเลิศ; อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์; ชิดชนก เหลือสินทรัพย์; วัชรพงศ์ อยู่ขวัญ; ศิวกรณ์ อาจรักษา; เสาวลักษณ์ ธรรมนาวาศ; จิราภรณ์ วงวาล (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561)
    การแบ่งส่วนข้อของกระดูกสันหลังในเพื่อวินิจฉัยโรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) ซึ่งเป็นโรคที่เกิดจากความหนาแน่นของมวลกระดูกลดน้อยลง ทำให้กระดูกเสื่อม เปราะบางและแตกหักง่ายและกระดูกจะไม่สามารถทำงานหรือเคลื่อนไหวได้อย่างตามปกติ ...
  • ภูสิต กุลเกษม; สุวรรณา รัศมีขวัญ; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; สุนิสา ริมเจริญ; กฤษณะ ชินสาร; ปิยตระกูล บุญทอง; มานิต ชาญสุภาพ (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558)
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและค้นคว้าอัลกอริทึมในการรู้จำอารมณ์จากเสียงพูดภาษาไทย งานวิจัยประเภทนี้รู้จักกันโดยทั่วไปว่า “การคณนาเชิงอารมณ์” ซึ่งสามารถลดช่องว่างในการสื่อสารระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์หรือช่ว ...
  • ภูสิต กุลเกษม; สุวรรณา รัศมีขวัญ; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; สุนิสา ริมเจริญ; กฤษณะ ชินสาร; ปิยตระกูล บุญทอง; มานิต ชาญสุภาพ (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2557)
    การประมวลผลเพื่อการคำนวณความรู้สึก (Affective Computing) เป็นศาสตร์ที่เกิดขึ้นเพื่อลดช่องว่างของการสื่อสารระหว่างมนุษย์กับสมองกลหรือระบบคอมพิวเตอร์ โดยการพัฒนาระบบการประมาณผลที่สามารถจดจำหรือตอบสนองต่อสถานะทางอารมณ์ที่แต ...
  • กฤษณะ ชินสาร; สุวรรณา รัศมีขวัญ; จักริน สุขสวัสดิ์ชน; อุรีรัฐ สุขสวัสดิ์ชน (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2554)
    การวิจัยครั้งนี้ นำเสนอขั้นตอนการรู้จำเส้นชั้นความสูงหลักของภาพแผนที่ภูมิประเทศที่ได้จากการกราดภาพ (Scanning) โดยใช้เทคนิคการประมวลผลภาพ การจัดกลุ่มข้อมูลแบบอาศัยความหนาแน่น และระบบโครงข่ายประสาทเทียมแบบวิธีการแพร่กระจายย้อนกลับ ...
  • สุวรรณา รัศมีขวัญ; กฤษณะ ชินสาร; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; ภูสิต กุลเกษม; สุนิสา ริมเจริญ (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2554)
    การพัฒนาซอฟต์แวร์เป็นกิจกรรมหลักซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูงมากในเกือบทุกองค์กรและมีการประเมินค่าซอฟต์แวร์ ซึ่งหมายถึงกระบวนการที่ใช้ในการพยากรณ์ความพยายามที่ต้องใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ ได้มีการวิจัยด้านการประเมินมูลค่าซอฟต์แวร์ซึ ...
  • กฤษณะ ชินสาร; สุวรรณา รัศมีขวัญ; สุนิสา ริมเจริญ; ภูสิต กุลเกษม; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; สุภาวดี ศรีคำดี (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2555)
    การพัฒนาซอฟต์แวร์เป็นกิจกรรมหลักซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูงมากในเกือบทุกองค์กรและมีการดำเนินการในหลากหลายบริบท งานวิจัยนี้ได้นำเสนอวิธีการประเมินมูลค่าของซอฟต์แวร์ ซึ่งหมายถึงกระบวนการที่ใช้ในการพยาการณ์ความพยายามที่ต้องใช้ในการ ...
  • กฤษณะ ชินสาร; สุวรรณา รัศมีขวัญ; สุนิสา ริมเจริญ; ภูสิต กุลเกษม; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; เอกจิต แซ่ลิ้ม (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2555)
    การแก้ปัญหาการวางแผนย้ายแหล่งทำงานของโมบายล์เอเจนต์ด้วยวิธีการเชิงพลวัติ โดยมีจุดมั่งหมายในการแก้ปัญหาคือ การหาเส้นทางการเคลื่อนที่ที่ทำให้โมบายล์เอเจนต์สามารถทำงานได้สำเร็จตามกำหนด โดยใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเครือข่ายเ ...
  • กฤษณะ ชินสาร; สุวรรณา รัศมีขวัญ; สุนิสา ริมเจริญ (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2554)
    โครงการวิจัยนี้นำเสนอวิธีการวางแผนย้ายแหล่งทำงานของโมบายล์เอเจนต์ด้วยวิธีการเชิงพลวัติโดยจุดมุ่งหมายของปัญหาการหาเส้นทางของโมบายล์เอเจนต์ คือ การหาเส้นทางการเคลื่อนที่ที่ทำให้โมบายส์เอเจนต์ทำงานได้สำเร็จตามที่กำหนด ...
  • เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; สุวรรณา รัศมีขวัญ; สุนิสา ริมเจริญ; ภูสิต กุลเกษม; กฤษณะ ชินสาร; อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์; ปิยนุช วรบุตร; จรรยา อ้นปันส์ (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2557)
    วัตถุประสงค์ของขั้นตอนวิธีในการเรียนรู้คือ เพื่อให้เกิดอัตราความผิดพลาดในการเรียนรู้ข้อมูลน้อยที่สุด โดยในงานวิจัยนี้ได้ทำการปรับปรุงฟังก์ชั่นความผิดพลาดที่ใช้วัดอัตราความผิดพลาดสำหรับชุดข้อมูลที่ไม่สมดุลได้อย่างเหมาะสม ...
  • สุวรรณา รัศมีขวัญ; กฤษณะ ชินสาร; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; ภูสิต กุลเกษม; อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์; Antony Harfield; Keovessna Vong (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559)
    ข้อมูลจากระบบคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลในลักษณะกระแสข้อมูล (DataStream) ที่มีคุณสมบัติที่แตกต่างจากข้อมูลโดยทั่วไป กล่าวคือ เป็นข้อมูลที่มีคุณสมบัติของการมีความต่อเนื่อง ของค่าข้อมูลและการมาถึงของข้อมูลที่มีความเร็วสูง ...
  • กฤษณะ ชินสาร; สุวรรณา รัศมีขวัญ; สุนิสา ริมเจริญ (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2554)
    วิธีการของการตรวจจับการบุกรุกสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ วิธีการตรวจจับการบุกรุกแบบอโนมาลี (anomaly intrusion detection method) และวิธีการตรวจจับการบุกรุกแบบมิสยูส (misuse intrusion detection method) โดยที่วิธีการตร ...
  • กฤษณะ ชินสาร; สุวรรณา รัศมีขวัญ; สุนิสา ริมเจริญ; ภูสิต กุลเกษม; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; จรรยา อ้นปันส์ (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2555)
    วิธีการของการตรวจจับการบุกรุกสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ วิธีการตรวจจับการบุกรุกแบบอโนมาลี (Anomaly intrusion detection metod) และวิธีการตรวจจับการบุกรุกแบบมิสยูส (Misure intrusion detection metod) โดยวิธีการตรวจจับแ ...
  • ภูสิต กุลเกษม; สุวรรณา รัศมีขวัญ; เบญจภรณ์ จันทรกองกุล; กฤษณะ ชินสาร; อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์; ชิดชนก เหลือสินทรัพย์; อภิเชษฐ์ ยาใจ (คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558)
    การล้มถือเป็นปัญหาด้านสุขภาพที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในปัจจุบัน ตลอดระยะเวลา ที่ผ่านมานักวิจัยต่างพัฒนาระบบการตรวจจับการล้มในรูปแบบของ การวิเคราะห์ผลจากภาพ โดยจะระบุสถานะของการล้มได้เมื่อผู้ล้มได้ล้มลงไปบนพื้นแล้ว ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account