DSpace Repository

การทดลองสร้างงานนาฏศิลป์ร่วมสมัยจากแนวคิดการใช้กระบวนการละครแบบร่วมสร้าง

Show simple item record

dc.contributor.author จุฬาลักษณ์ เอกวัฒนพันธ์
dc.date.accessioned 2022-07-30T05:53:30Z
dc.date.available 2022-07-30T05:53:30Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4580
dc.description.abstract บทความวิจัยนี้เป็นการทดลองสร้างงานนาฏศิลป์ร่วมสมัยจากแนวคิดการใช้กระบวนการ ละครแบบร่วมสร้างเพื่อสร้างตัวอย่างและกระตุ้นสร้างตัวอย่างและกระตุ้นให้นิสิตเกิดความรู้ความเข้าใจในวิธีการสร้างงานนาฏศิลป์ร่วมสมัย จนสามารถร่วมกันสร้างการแสดงชุด start โดยใช้กลุ่มตัวอย่างนสิตในสาขาวิชานาฏศิลป์ร่วมสมัย จำนวน 7 คน ผ่านการทดลองฝึกปฏิบัติจากการทดลองสร้างงาน ประกอบไปด้วย 1) แบบฝึกหัดการสร้างงานที่เริ่มจากการหาแรงบัลดาลใจจาก งานศิลปะ เพลง หนังสือนิทานกลับมุม 2) แบบฝึกหัดการละลายพฤติกรรม 3) แบบฝึกหัดการสื่อสารทางด้านร่างกายโดยใช้ท่าเต้นจากทักษะ การเต้นที่นิสิตถนัด 4) แบบฝึกหัดการพูดเพื่อการสื่อสาร 5) แบบฝึกหัดด้นสดกับอุปกรณ์ และด้นสดการเคลื่อนย้ายพื้นที่และร่วมกันแก้ไขพัฒนาข้อบกพร่องรวมของนักแสดง ผลการวิจัยพบว่า เกิดตัวอย่างจากแบบฝึกหัดการทดลองสร้างการแสดงชุุด start ได้สำเร็จ และสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองผ่านกระบวนการละครแบบร่วมสร้าง แบ่งได้เป็นสองด้านคือ 1) ทักษะความถนัดจากการเคลื่อนไหวร่างกาย นิสิตสามารถใช้ร่างกายเป็นเครื่องมือที่จะพัฒนาให้ตนเองเป็นนักเต้นที่มีคุณภาพได้โดยเฉพพาะนิสิตรูจักการปรับใช้พื้นที่บนเวทีผ่านการเต้นจากเทคนิคท่าเต้นของตนเอง เข้าใจการใช้ร่างกายจนสามารถนำมาประยุกต์ใช้และสร้างทางเต้นที่่ซับซ้อน ท่าเต้นที่สื่อสารผ่านร่างกายได้ 2) ด้านความคิด นิสิตเริ่มเข้าใจวิธีการสร้างงานร่วมสมัยอย่างเป็นเหตุเป็นผลจากการพูดคุย ถาม ตอบ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในระหว่างการสร้างงานเป็นตัวของตัวเอง พููดในสิ่งที่ตนเองคิด ทั้งในเรื่องของความเชื่อ ทัศนคติอย่างเปิดเผย เกิดการวิพากษ์วิจารณ์จากประเด็นที่ศึกษาอย่างตรงไปตรงมา ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น มีวุฒิภาวะทางความคิดที่มากขึ้น เกิดการพัฒนาความสัมพันธ์ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการละครแบบร่วมสร้าง เกิดสังคมประชสธิปไตย จากการแฝงกระบวนการเรียนรู้เรื่องประชาธิปไตยในขั้นตอนการผลิตการแสดง อีกทั้งยังสร้างพลเมืองที่ดีมอบแก่สังคมในทางอ้อมอีกด้วย th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject นาฏศิลป์ th_TH
dc.subject ละคร th_TH
dc.subject การแสดง th_TH
dc.subject การสร้างสรรค์ (วรรณกรรม ศิลปกรรม ฯลฯ) th_TH
dc.title การทดลองสร้างงานนาฏศิลป์ร่วมสมัยจากแนวคิดการใช้กระบวนการละครแบบร่วมสร้าง th_TH
dc.title.alternative An experimental study of contemporary dance based on devising theatre th_TH
dc.type Article th_TH
dc.issue 1 th_TH
dc.volume 24 th_TH
dc.year 2564 th_TH
dc.description.abstractalternative This study aimed to experiment with creating contemporary dance works from the concept of using co-create processes. The samples were seven contemporary dance students who had passed production training, including devising theatre production, 1) inspiration-seeking from artworks, songs, the book named Politically Correct Bedtime Stories or Ni Tan Klab Mum, 2) ice-breaking practice, 3) practice on communication through dancing posture, 4) communicative speaking practice, 5) improvised exercises with equipment and improvised space movement and cooperation in solving shared defect of the performer team. The results were that a contemporary dance model named “Start” was successfully created. The sample students were able to develop two aspects of their potential through a co-create drama process. The first aspect was body movement skills. It was found that the sample students were able to use their bodies effectively to become good dancers. They were able to apply their dancing techniques to blocking. They understood using their bodies to choreograph complicated dancing postures to communicate the message to the audience. The second aspect was thought. It was found that the sample students were able to learn the rationale of contemporary dance creation through their conversation, questioning and answering, and opinion sharing during the task. They gained self-confidence, and they were courageous to express their thoughts regarding beliefs and attitudes openly. They were more confident to learn and to criticize the studied issues directly. They respected others’ ideas. They became more cognitively mature, and they developed interpersonal skills, which is an essential element of devising theatrical work creation. The democratic atmosphere was enhanced through the production process, which eventually indirectly led to a democratic citizen. th_TH
dc.journal วารสารศิลปกรรมบูรพา th_TH
dc.page 171-198. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account