DSpace Repository

รูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ของวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author มนตรี วิวาห์สุข
dc.contributor.author เทพพร มังธานี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-05-14T07:21:09Z
dc.date.available 2022-05-14T07:21:09Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4341
dc.description โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2562 th_TH
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อจัดกลุ่ม แบ่งประเภท และจำแนกโครงสร้างและเนื้อหาสื่อสังคมออนไลน์ของวัดในภาคตะวันออก 2) เพื่อประเมินความเห็นและประโยชน์จากบทบาทออนไลน์ของวัดฯ ต่อสังคม 3 เพื่อค้นหาและพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการใช้ประโยชน์จากสื่อสังคมออนไลน์สำหรับวัดฯ วิธีดำเนินการวิจัยเป็นแบบผสมระหว่างเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างและกลุ่มเป้าหมายอยู่ภายในจำนวน 255 วัด จากประชากร 463 วัด ด้วยการเลือกแบบเจาะจงและโควตา เก็บรวบรวมข้อมูลจากเพจเฟซบุ๊ก และการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา พัฒนารูปแบบตามผลที่ได้จากการสังเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1. เพจเฟซบุ๊กคือสื่อสังคมออนไลน์ที่วัดนิยมใช้มากที่สุด มีโครงสร้างสำเร็จรูปที่บริษัทเจ้าของ เพจเฟซบุ๊กออกแบบไว้แล้ว แบ่งเป็น 2 แบบ คือ เป็นทางการที่บุคคลสร้างขึ้น และไม่เป็นทางการที่ระบบสร้างขึ้น ซึ่งทางวัดอาจไม่รับรู้ เนื้อหาโดยส่วนมากเป็นรูปภาพกิจกรรมและมีคำอธิบายให้น่าสนใจ ไม่ขัดกฎหมาย พระธรรมวินัย และจารีต 2. ความเห็นเกือบทั้งหมดแสดงออกในทางเห็นด้วยและชื่นชอบด้วยการกดถูกใจหรือคอมเม้นท์ “สาธุ” เพราะผู้ติดตามเป็นผู้ที่มีความชอบในเรื่องเดียวกัน ส่วนประโยชน์ที่สำคัญคือการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของวัดได้อย่างกว้างขวาง ประหยัด และสะดวก ทำให้ผู้คนรู้และร่วมทำบุญได้อย่างเหมาะสมและทันท่วงที 3. เพจเฟซบุ๊ก มีองค์ประกอบ 4 ส่วน คือ 1) หัวเพจเป็นภาพหน้าปก 2) ด้านขวาของเพจเป็นสารบัญ ประกอบด้วย ชื่อเพจ หน้าหลัก โพสต์ รีวิว รูปภาพ วีดิโอ งานกิจกรรม เกี่ยวกับ ชุมชน 3) ด้านซ้ายของเพจแสดงเพจที่ตนดูแล และรายชื่อผู้ติดต่อ 4) ส่วนกลาง แสดงเนื้อตามสารบัญและที่นำเสนอโดยระบบ ส่วนการสร้างเพจที่เป็นทางการมี 9 ขั้นตอน เริ่มจากการมีบัญชีเฟซบุ๊กเป็นอันดับแรก สื่อสังคมออนไลน์ที่เหมาะสมกับวัดมากกว่าเพจเฟซบุ๊กคือเว็บไซต์ จึงควรมีการศึกษาเพื่อพัฒนาเว็บไซต์สำหรับ โดยเฉพาะสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติควรมีการส่งเสริมเพื่อให้การเผยแผ่ธรรมเป็นไปอย่างกว้างขวาง th_TH
dc.description.sponsorship มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject สื่อสังคมออนไลน์ th_TH
dc.subject วัด - - ไทย (ภาคกลาง) - - ประวัติ th_TH
dc.title รูปแบบสื่อสังคมออนไลน์ของวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย th_TH
dc.title.alternative Social media model of monasteries in Eastern Thailand en
dc.type Research th_TH
dc.author.email montree_jnu@hotmail.com th_TH
dc.author.email thepporn.mu@buu.ac.th th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative This research consisted of 3 objectives 1) grouping and categorizing the structure and content of a social media of monasteries in Eastern region, 2) examining the comment and advantage from its roles, and 3) finding out and developing the suitable model for utilizing the social media of monasteries. Research methods were mixed between the quantitative and qualitative techniques. The sample composed of 255 from 643 population monasteries through the purposive and quota selection. The data were collected by the monasteries’ facebook pages and in-dept interview, and analyzed by statistical frequency, percentage and average, and content analyses. The model would be developed in accordance with the synthesized result. The results were found that: 1. Facebook page was the social media that were popular among the monasteries. It had the constant format which was designed by the owner company and there were 2 types i.e. human-made official and system-made unofficial that sometime out of monasteries’ acknowledge. Most of the content expressed through activity pictures with some interesting explanation that were not offended the law, monastic code of conduct and social norm. 2. All most of the comment were agreed or liked the posts with ‘Sadhu’ because the followers having the same tendency. The key advantages were to viral propagation of monasteries’ activities, economic and convenient that caused the devotees’ appropriately informed and contributed on time. 3. The structure of facebook page constructed of 4 parts 1) page heading like a book front page, 2) a content at right hand side, 3) the responsive page and contact list at the left hand side, and 4) the middle part showing the detail from the content and the system. Meanwhile, the were 9 steps in setting up the official facebook page that started from having an account of facebook. The more suitable social media model for the monasteries was “website”, therefore the research and development should be taken and supported by the National Office of Buddhism for the sake of propagation of the Buddha’s teachings widely. en
dc.keyword สาขาปรัชญา th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account