DSpace Repository

รูปแบบการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนในโรงเรียนและชุมชนภาคตะวันออก

Show simple item record

dc.contributor.author สุวรรณา จันทร์ประเสริฐ th
dc.contributor.author สุจิตรา สมชิต th
dc.contributor.author พัชรินทร์ พูลทวี th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:51:49Z
dc.date.available 2019-03-25T08:51:49Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/433
dc.description.abstract การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการที่องค์กรต่าง ๆ ดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนในชุมชน ได้แก่ การกำหนดนโยบาย วิธีการดำเนินการดูแลสุขภาพ วิธีกำกับติดตาม และการประเมินผลการดำเนินงานดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียน โดยวิเคราะห์ถึงการมีส่วนร่วมขององค์กร ครอบครัว โรงเรียน หน่วยงานบริกรสาธารณสุขในชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรรมการชุมชน และองค์กรต่าง ๆ ทำการศึกษาชุมชนในภาคตะวันออก 5 ชุมชน ทำการเก็บข้อมูลกับตัวแทนองค์กรต่าง ๆ ด้วยการสัมภาษณ์เจาะลึกแบบไม่มีโครงสร้าง โดยผู้วิจัยและผู้ช่วยเก็บข้อมูล ร่วมกับการบันทึกเสียงและบันทึกภาพสภาพแวดล้อม ป้ายประกาศโฆษณาต่าง ๆ ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้อง ทำการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วยการใช้ข้อมูลจากหลายแหล่งรวมกัน (Triangulation Technique) และการสรุปข้อมูลให้ผู้ให้ข้อมูลตรวจสอบเป็นระยะ ๆ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. องค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนในชุมชน ประกอบด้วย 1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเน้นการสรร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค 2) หน่วยงานบริการสาธารณสุขในชุมชน เน้นดำเนินกิจกรรมที่เป็นงานประจำ (Routine) 3) ครอบครัว มีบทบาทการดูแลการดำเนินชีวิตประจำวัน แก่สมาชิกในครอบครัว 4) โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพให้นักเรียน 5) ผู้นำชุมชน และกรรมการชุมชน ทำหน้าที่ประสานงาน แจ้งข่าวการดำเนินการด้านสุขภาพในชุมชน 2. รูปแบบการดำเนินงาน ได้แก่ 1) การรวบรวมข้อมูลและค้นหาปัญหาสุขภาพของเด็กในชุมชนโดยผ่านการทำประชาคมร่วมกับการใช้ข้อมูลของหน่วยบริการสาธารณสุข 2) การพัฒนาโครงการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนในชุมชนโดยนำปัญหาที่ได้จากประชุมประชาคม ตำบลมาจัดทำแผนชุมชน โดยฝ่ายหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบงานนั้น ๆ 3) การดำเนินการเป็นความรับผิดชอบของหน่วยงานที่เสนอโครงการ 4) มีการติดตามประเมินผลการทำงานและติดตามงานที่ตกค้างจากการประชาคมครั้งก่อน 5) กระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะ เพื่อการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนในพื้นที่ที่ศึกษามีไม่ชัดเจน th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2550 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject เด็ก - - สุขภาพและอนามัย th_TH
dc.subject อนามัยโรงเรียน th_TH
dc.subject เด็ก - - การดูแล th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.title รูปแบบการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนในโรงเรียนและชุมชนภาคตะวันออก th_TH
dc.title.alternative Model of school-age children health care in school and community, eastern region en
dc.type Research
dc.year 2552
dc.description.abstractalternative The purpose of this qualitative research was to describe the process, policy, management, control and monitoring method and evaluation of school age children care of the health care organization in the community. To analyze the participatory of local administration organizations, families, schools, health care centers, community leaders and other organizations. Five communities in the eastern region were studied. The data was collected from the head or presenter of those organizations by in-depth interview methods. The researchers and research assistances are instruments with recorded sound, photography, documents and data from board presentations. Triangulation technique and data reflection was used to confirm the data quality. The data was analyzed by content by content analysis. The results of the study were as follow: 1. The school age children stakeholders consist of 1 ) local administration that focus about health promotion and protection, 2) community health care centers, focus on routine care 3) families, their illness care role that they provide to family members. 4) school provide the health promotion activities. 5) community leaders and committees in collaboration with the health public relationship. 6) Non-governmental organizations stimulated the health service activities in the community. 2. The service pattern consists of: 1) the data collection and children health problems that were sought by public hearing (meaning that most villagers came to meetings together to find out solutions), and also from the health service centers 2) to use the data from public meetings to develop community plans for child health responsibility for each organization. 3) the project operations are responded to by the organization that presented. 4) There are project evaluations that monitor the plan issue in public meetings. However, it was not clear on public health policy process in the communities. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account