DSpace Repository

ศักยภาพด้านพฤติกรรมสุขภาพในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการตรวจรักษาที่ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author อรพิน รังษีสาคร th
dc.contributor.author ศิริพร จันทร์ฉาย th
dc.contributor.author สุนิศา แสงจันทร์ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:51:48Z
dc.date.available 2019-03-25T08:51:48Z
dc.date.issued 2551
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/427
dc.description.abstract การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาศักยภาพด้านพฤติกรรมในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการตรวจรักษาที่ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ป่วยซึ่งได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิกที่ 2 ที่มารับบริการตรวจและรักษาที่คลินิกพิเศษเฉพาะโรคเบาหวาน ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวนรวม 150 คน เก็บรวบรวมข้อมุงโดยการเจาะเลือด สัมภาษณ์ และการบันทึกจากแบบบันทึกข้อมูล และนำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติวิเคราะห์ ได้แก่ Chi-square test ผลการศึกษาพบว่าผู้ป่วยฯ ร้อยละ 56.6 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ โดยจำแนกศักยภาพของผู้ป่วยด้านพฤติกรรมสุขภาพในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้เป็น 4 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1 การบริโภคอาหาร พบว่า ผู้ป่วยฯ ร้อยละ 50.4 มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารโดยรวมเหมาะสม และพบว่า การรับประทานอาหารประเภทไขมัน และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟมีความสัมพันธ์กับระดับน้ำตาลในเลือด (X=3.123225, p=0.08 และ X2 =3.536581, p=0.06) ตามลำดับ ด้านที่ 2 การออกกำลังกาย พบว่าผู้ป่วยฯ ร้อยละ 63.7 มีพฤติกรรมการออกกำลังกายโดยรวมอยู่ในระดับสูง แต่การออกกำลังกายไม่มีความสัมพันธ์กับระดับน้ำตาลในเลือด ด้านที่ 3 การจัดการกับความเครียด พบว่าผู้ป่วยฯ ร้อยละ 51.4 มีพฤติกรรมการจัดการกับความเครียดโดยรวมในระดับสูง แต่การจัดการความเครียดไม่มีความสัมพันธ์กับระดับน้ำตาลในเลือด ด้านที่ 4 การรับประทานยา ผู้ป่วยฯ ร้อยละ 55.9 มีพฤติกรรมการรับประทานยาโดยรวมเหมาะสมในระดับสูง และพบว่า การรับประทานยาสมุนไพรหรืออาหารเสริมที่มีผลลดระดับน้ำตาลในเลือดร่วมกับยาที่แพทยืสั่ง และการงดรับประทานยาที่แพทย์สั่งทันที เมื่อมีอาการหน้ามืดคล้ายจะเป็นลม เหงื่อออก ใจสั่น มีความสัมพันธ์กับระดับน้ำตาลในเลือด (X2 =3.642926, p=0.056 และ X2= 6.057071, p=0.001) ตามลำดับ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาศัยภาพด้านพฤติกรรมการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยฯ ให้สูงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้าน การบริโภคอาหารและการรับประทานยา th_TH
dc.description.sponsorship การศึกษาวิจัยนี้ได้รับทุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณแผ่นดิน ปี พ.ศ. 2546 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject น้ำตาลในเลือด th_TH
dc.subject พฤติกรรมสุขภาพ th_TH
dc.subject เบาหวาน - - ผู้ป่วย th_TH
dc.subject เบาหวาน - - การป้องกันและควบคุม th_TH
dc.subject เบาหวาน - - การรักษา th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.title ศักยภาพด้านพฤติกรรมสุขภาพในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการตรวจรักษาที่ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี th_TH
dc.title.alternative Health behavior for blood sugar controlling of type II diabetic patients at health science center Burapha university, Muang district, Chonburi province en
dc.type งานวิจัย
dc.year 2551
dc.description.abstractalternative This survey study was conducted to explore behaviors for controlling the blood sugar of type 2 diabetic patients. The study was carried out with 150 of type 2 diabetic petients in the Health Science Center of Burapha University. Individual interviews of patients were conducted regarding behaviors for controlling the blood sugar. Other data on health and blood sugar were obtained from hospital records (OPD card) and blood test (FBS and HbA1c). Percentages and Chi-square tests were performed to analyze data. The study results revealed that 56.6% of the patients were able to control their blood sugar. The blood sugar controlling behaviors surveyed is focused on 4 part; the food consumption, exercise, the strees management and the medicine taking. Results are as follow: 1) 50.4% of the patients monitored their food consumption behavior to control the blood sugar. There were relationships between lipid consumption and the blood sugar control level (X2 = 3.123225, p=0.08) , and between sweet beverage, tea and coffee consumption and the blood sugar control level (X2= 3.536581, p=0.06). 2) 63.7% of the patients did the exercise behavior for controlling the blood sugar. there was not a significant relationship between exercise and the blood sugar control level. 3) 51.4% of the patients considered the stress management behavior to be useful for controlling the blood sugar. There was not a significant relationship between the stress management and the blood sugar control level. 4) 55.9% of the patients used the medicine for controlling the blood sugar. There were a significant relationshops between herb or supplement taking and the blood sugar control level (X2= 3.642926, p=0.056) and between stopped taking medicine and the blood sugar control level (X2 = 6.057071, p=0.001) This study indicates that the self-care blood sugar controlling behaviors of type 2 diabetic patients should be developed. especiall the food consumption behavior and the compliance behavior for blood sugar controlling medicine. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account