DSpace Repository

การศึกษาความเข้าใจคำศัพท์ทางชีววิทยา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาและเจตคติต่อวิชาชีววิทยาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการใช้เทคนิคเกม

Show simple item record

dc.contributor.author พรรณธร คงใหญ่
dc.contributor.author นพมณี เชื้อวัชรินทร์
dc.contributor.author เชษฐ์ ศิริสวัสดิ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-06-14T09:06:22Z
dc.date.available 2021-06-14T09:06:22Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4146
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจคำศัพท์ทางชีววิทยา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาและเจตคติต่อวิชาชีววิทยาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการใช้เทคนิคเกม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนพนัสพิทยาคาร จังหวัดชลบุรี จำนวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบต้องเรียนกลับด้านร่วมกับการใช้เทคนิคเกม เรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญของสัตว์ แบบทดสอบวัดความเข้าใจคำศัพท์ทางชีววิทยา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยา แบบสอบถามวัดเจตคติต่อวิชาชีววิทยา และแบบทดสอบย่อยท้ายวงจร สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนกับหลังเรียน (t-test) แบบ Dependent samples และการทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 (t-test) แบบ One samples ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีความเข้าใจคำศัพท์ทางชีววิทยา หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ70 อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 05 และเจตคติต่อการเรียนวิชาชีววิทยาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ชีววิทยา -- คำศัพท์ th_TH
dc.subject ชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา) th_TH
dc.subject ห้องเรียนกลับด้าน th_TH
dc.subject เกมทางการศึกษา th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การศึกษาความเข้าใจคำศัพท์ทางชีววิทยา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาและเจตคติต่อวิชาชีววิทยาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการใช้เทคนิคเกม th_TH
dc.title.alternative The study of biology terminology comprehension, learning achievement in biology and attitudes towards biology for 11th grade students using flipped classroom and game techniques en
dc.type Article th_TH
dc.issue 1 th_TH
dc.volume 31 th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study comprehension in biological terminology, biology learning achievement and attitudes toward biology of eleventh-grade students using flipped classroom and game techniques. The sample group of this research was 42 eleventh grade students at Phanatpittayakarn school, Chonburi Province in the second semester of 2018 academic year. The instruments of the research were lesson using flipped classroom and game techniques on the topic of animal reproduction and development, biological terminology comprehension test, multiple choice biology learning achievement test, attitudes towards biology questionnaire and ended cycle test. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, comparing the pretest and posttest scores using dependent sample t-test and comparing posttest scores with the 70 percent criteria using one sample t-test and content analysis. The results of this study indicated that the comprehension in biological terminology was higher than before learning and was higher than the 70 percent criteria with statistically significant at .05 level, the biology learning achievement was higher than before learning with statistically significant at .05 level. and was higher than the 70 percent criteria with no statistically significant at .05 level and the attitudes toward biology was higher than before learning with statistically significant at .05 level. en
dc.journal วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.page 75-88. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account