DSpace Repository

การพัฒนารูปแบบการดูแลภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ (ปีที่ 3)

Show simple item record

dc.contributor.author เพ็ชรงาม ไชยวานิช
dc.contributor.author พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ
dc.contributor.author สุกัญญา เจริญวัฒนะ
dc.contributor.author สมชาย ยงศิริ
dc.contributor.author สุริยา โปร่งน้ำใจ
dc.contributor.author ผกาพรรณ ดินชูไท
dc.contributor.author ศิริพร ตั้งจาตุรนต์รัศมี
dc.contributor.author ระวีวรรณ วิฑูรย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-04-20T05:46:50Z
dc.date.available 2021-04-20T05:46:50Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4042
dc.description งานวิจัยฉบับนี้ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประเภทงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2557 th_TH
dc.description.abstract แนวคิด: ภาวะทุพโภชนาการมีผลต่อคุณภาพชีวิตที่แย่ลง การดูแลภาวะโภชนาการอาจจะทำให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนดีขึ้นได้ วัตถุประสงค์: เพื่อทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตกับภาวะโภชนาการ ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตและภาวะโภชนาการ และนำไปสู่การสร้างรูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชน วิธีวิจัย: ศึกษาวิจัยแบบตัดขวางในกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุในชุมชนเทศบาลแสนสุข เก็บข้อมูลจากแบบสอบถามคุณภาพชีวิตขององค์กรอนามัยโลกฉบับย่อ (WHOQOL-BREF) แบบประเมินภาวะโภชนาการ (mini nutritional assessment) วัดสัดส่วนของร่างกายด้วยเครื่องมือ bioelectrical impedance analysis (BCM) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม R version 3.01 กำหนดให้ค่าความเชื่อมั่นที่ p<0.05 ถือว่ามีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างจำนวน 239 ราย อายุเฉลี่ย 67.3+5.64 ปี ร้อยละ 65.27 มีคุณภาพชีวิตอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ร้อยละ 64.44 มี MNA อยู่ในเกณฑ์ปกติ กลุ่มที่มี MNA ปกติ มีคุณภาพชีวิตโดยรวม ดีกว่า กลุ่มที่มี MNA ผิดปกติอย่างมีนัยสำคัญ (93.01+10.61 vs. 89.69+9.71, p=0.016) กลุ่มที่ออกกำลังกาย 5-7 วัน/สัปดาห์ มี MNA ดีกว่า กลุ่มที่ออกกำลังกาย 1-4 วัน/สัปดาห์ อย่างมีนัยสำคัญ (25.34+2.80 vs. 24.46+3.05 p=0.03) กลุ่มรายได้ที่มากกว่า 10,000 บาทต่อเดือน มีคุณภาพชีวิต โดยรวม ดีกว่า กลุ่มที่มีรายได้น้อยกว่า 10,000 บาทต่อเดือนอย่างมีนัยสำคัญ (94.60+10.41 vs. 90.38+8.72 p=0.01) MNA มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตทุก ๆ มิติอย่างมีนัยสำคัญ (r=0.379 p<0.001) ผลการตรวจด้วยเครื่อง BCM มีความสัมพันธ์กับผลการวัด MNA แต่กลับไม่พบความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตแต่อย่างใด (r=0.111 p=0.165) สรุป: ภาวะโภชนาการมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตทุก ๆ มิติในระดับปานกลาง กลุ่มตัวอย่างที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าคือกลุ่มที่ออกกำลังกายมากกว่า 4 ครั้งต่อสัปดาห์และกลุ่มที่มีรายได้มากกว่า 10,000 บาทต่อเดือน ผลการตรวจด้วยเครื่อง BCM มีความสัมพันธ์กับผลการวัด MNA แต่ไม่พบความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตแต่อย่างใด th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ผู้สูงอายุ - - คุณภาพชีวิต - - ไทย th_TH
dc.subject ผู้สูงอายุ - - โภชนาการ th_TH
dc.subject วัยชรา - - แง่โภชนาการ th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.title การพัฒนารูปแบบการดูแลภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ (ปีที่ 3) th_TH
dc.type Research th_TH
dc.author.email pechngam074@hotmail.com th_TH
dc.author.email pisit@buu.ac.th th_TH
dc.author.email sukanyac@buu.ac.th th_TH
dc.author.email somshy@buu.ac.th th_TH
dc.author.email suriya@buu.ac.th th_TH
dc.author.email pakaphan@buu.ac.th th_TH
dc.author.email siripornsopha@gmail.com th_TH
dc.author.email r_aumy@hotmail.com th_TH
dc.year 2557 th_TH
dc.description.abstractalternative Background: Malnutrition is associated with poor quality of life (QOL). QOL in the elderly may be better if we can improve their nutritional status. Objective: To explore the association between QOL and nutritional status, factors affecting QOL and nutritional status, leading to the development of a model to improve nutritional status and QOL in the elderly. Methods: cross-sectional descriptive analytic study of QOL and nutritional status of the elderly in the Saensuk sub-district area, Thailand during Feb-Apr 2013. QOL was measured by WHOQOL-BREF questionnaire, nutritional assessment was measured by mini nutritional assessment (MNA) and bioelectrical impedance analysis (BCM). Data were analyzed by program R version 3.01, p<0.05 was considered as statistical significance. Results: There were 239 Thai elderly included in this study. Mean age was 67.3+5.64 year old, 65.27% of them had QOL in the middle range, 64.44% had normal MNA. Those who had normal MNA also had better QOL (93.01+10.61 vs. 89.69+9.71, p=0.016). The subjects who exercise more than 4 days per week had better MNA (25.34+2.80 vs. 24.46+3.05 p=0.03). Those who had higher income (more than 10,000 bath/month) had higher QOL (94.60+10.41 vs. 90.38+8.72 p=0.01). MNA correlated to all domain of QOL (r=0.379 p<0.001). BCM correlated to MNA but not QOL (r=0.111 p=0.165). Conclusion: Nutritional status was significantly correlated to QOL. The subjects who had better QOL were those who exercise more than 4 days/month and those who had income > 10,000 bath/month. BCM correlated to Nutritional status but not QOL. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account