DSpace Repository

การค้นหาแอคติโนแบคทีเรียเอนโดไฟท์ที่ผลิตสารปฏิชีวนะในการยับยั้งเชื้อก่อโรค ที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในผู้ป่วยโรคเบาหวาน

Show simple item record

dc.contributor.author ภรณี ศรีปรีชาศักดิ์
dc.contributor.author อนันต์ อธิพรชัย
dc.contributor.author วงศกร พงศ์โสภิตานันท์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-12-29T07:02:13Z
dc.date.available 2020-12-29T07:02:13Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3997
dc.description โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 th_TH
dc.description.abstract แอคติโนแบคทีเรียเอนโดไฟท์จานวน 59 ไอโซเลท ที่คัดแยกได้จากพืชวงศ์ Rutaceae จัดอยู่ในสกุล Actinomycetospora, Amycolatopsis, Marmoricola, Micromonospora, Nocardia และ Streptomyces จากการวิเคราะห์ลำดับเบสและความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของยีน 16S rRNA พบว่า มีแอคติโนแบคทีเรีย จำนวน 4 ไอโซเลท ที่น่าจะเป็นแอคติโนแบคทีเรียสปีชีส์ใหม่ในสกุล Nocardia ได้แก่ ไอโซเลท R6R-6, R7R-8, R15R-2 และ R16R-3 การคัดกรองหาแอคติโนแบคทีเรียเอนโดไฟท์ที่ผลิตสารปฏิชีวนะในการยับยั้งเชื้อก่อโรคที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในผู้ป่วยโรคเบาหวานพบว่า Streptomyces sp. R3R-6 ซึ่งแยกได้จากรากของมะกรูดเป็นสายพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการผลิตสารปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ในการต้านแบคทีเรียแกรมบวก B. subtilis ATCC 6633, M. luteus ATCC 9341 และ S. aureus ATCC 25923 สารปฏิชีวนะที่ผลิตจาก Streptomyces sp. R3R-6 คือ actinomycin D สารมีประสิทธิภาพสูงในการต้านแบคทีเรีย แกรมบวกเทียบเท่ายาปฏิชีวนะ chloramphenicol ดังนั้นแอคติโนแบคทีเรียเอนโดไฟท์ที่คัดแยกได้จากพืชวงศ์ Rutaceae จึงเป็นแหล่งของจุลินทรีย์ที่มีศักยภาพในการผลิตสารปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อก่อโรคที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในผู้ป่วยโรคเบาหวาน นอกจากนี้ยังได้ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตสารสารปฏิชีวนะจาก Streptomyces sp. R3R-6 พบว่า ระยะเวลาและปริมาณหัวเชื้อเริ่มต้นที่เหมาะสมในการผลิตสารปฏิชีวนะ คือ 7 วัน และร้อยละ 1 โดยปริมาตร ตามลำดับ และองค์ประกอบของอาหารเลี้ยงเชื้อที่เหมาะสม คือ น้าตาลซูโครส (10 กรัมต่อลิตร) และสารสกัดมอลต์ (20 กรัมต่อลิตร) th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject โรคเบาหวาน th_TH
dc.subject สารปฏิชีวนะ th_TH
dc.subject ผู้ป่วยเบาหวาน th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.title การค้นหาแอคติโนแบคทีเรียเอนโดไฟท์ที่ผลิตสารปฏิชีวนะในการยับยั้งเชื้อก่อโรค ที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในผู้ป่วยโรคเบาหวาน th_TH
dc.title.alternative Discovery of endophytic actinobacteria producing antibiotic agents against pathogenic microorganisms causing diabetes mellitus patient’s infection en
dc.type Research th_TH
dc.author.email paranee@buu.ac.th th_TH
dc.author.email Wongsakorn.p@chula.ac.th th_TH
dc.author.email anana@buu.ac.th th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative Fifty-nine isolates of endophytic actinobacteria isolated from Rutaceae plants were classified in genera Actinomycetospora, Amycolatopsis, Marmoricola, Micromonospora, Nocardia, and Streptomyces. Based on the 16S rRNA gene sequencing and evolutionary analysis, four actinobacterial isolates, R6R-6, R7R-8, R15R-2, and R16R-3, were be promising new species in the genus Nocardia. Screening for endophytic actinobacteria producing antibiotic agents against pathogenic microorganisms causing diabetes mellitus patient’s infection, it was found that Streptomyces sp. R3R-6, isolated from the Citrus hystrix root, was the most effective stain in antibiotic production against Gram-positive bacteria, including B. subtilis ATCC 6633, M. luteus ATCC 9341, and S. aureus ATCC 25923. The antibiotic produced by Streptomyces sp. R3R-6 is actinomycin D, which showed highly effective activity against Gram-positive bacteria equivalent to chloramphenicol. Therefore, endophytic actinobacteria from Rutaceae plants are a potential source of microorganisms to produce antibiotics against pathogenic microorganisms causing diabetes mellitus patient’s infection. In addition, the study of the factors affecting the production of antibiotic from Streptomyces sp. R3R-6 revealed that the optimum time and the inoculum size for antibiotic production were seven days and 1% v/v, respectively. The optimum composition of the culture medium was sucrose (10 g/l) and malt extract (20 g/l). en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account