DSpace Repository

การพัฒนาเครื่องพ่นละอองลอยอนุมูลอิสระไฮดรอกซิลเชิงพานิชย์เพื่อขึ้นบัญชีนวัตกรรมไทยโดยนำเอาเทคโนโลยีที่ได้รับรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์จากเวทีประกวดนานาชาติ ในการฆ่าเชื้อโรคและป้องกันโรคติดต่อ (HAIs) สำหรับสถานพยาบาลและสถานพักฟื้นผู้สูงอายุ

Show simple item record

dc.contributor.author อาณัติ ดีพัฒนา th
dc.contributor.author อาลักษณ์ ทิพยรัตน์ th
dc.contributor.author นพพล วีระนพนันท์ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-12-27T06:10:07Z
dc.date.available 2020-12-27T06:10:07Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3993
dc.description งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 th_TH
dc.description.abstract การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมอาหารที่เป็นอุตสาหกรรมสำคัญในโครงสร้างเศรษฐกิจของไทย โดยการผลักดันของภาครัฐบาลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมตามนโยบาย Thailand 4.0 ทำให้อุตสาหกรรมอาหารมีการขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่จากข้อมูลที่ได้ทำการสำรวจจากผู้บริหารอุตสาหกรรมอาหารส่งออกขนาดใหญ่ พบว่าในแต่ละปีมีผลิตภัณฑ์จำนวนมากตรวจพบการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคในมนุษย์ทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการทำลายสินค้า ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ส่งผลกระทบโดยตรงต่อความน่าเชื่อถือของผลิตภัณฑ์ของประเทศไทย การทำลายเชื้อจุลินทรีย์ภาพรวมในผลิตภัณฑ์เหล่านี้เป็นเรื่องที่ยาก สารเคมีที่ใช้ส่งผลให้เกิดสารตกค้างที่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมและมนุษย์เป็นอย่างมาก เครื่องพ่นละอองลอยฆ่าเชื้อปนเปื้อนในพื้นที่ผลิตอาหารด้วยเทคโนโลยีออกซิเดชั่นขั้นสูงปลอดสารพิษตกค้างในการยกระดับคุณภาพอาหารปลอดภัยสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร เป็นการผลิตละอองลอยของอนุพันธ์อิสระไฮดรอกซิล (จากแสงยูวี โอโซน และสารละลายตั้งต้นสำหรับผลิตอนุพันธ์อิสระไฮดรอกซิล) ทำหน้าที่ออกซิไดซ์เชื้อจุลินทรีย์ทำให้สามารถฆ่าเชื้อได้อย่างสมบูรณ์และรวดเร็วโดยหลังจากการทำปฏิกิริยา เหลือแต่เพียงน้ำกับออกซิเจนเป็นสารตกค้างที่ไม่เป็นพิษและปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject นวัตกรรมทางเทคโนโลยี th_TH
dc.subject สิ่งประดิษฐ์ th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title การพัฒนาเครื่องพ่นละอองลอยอนุมูลอิสระไฮดรอกซิลเชิงพานิชย์เพื่อขึ้นบัญชีนวัตกรรมไทยโดยนำเอาเทคโนโลยีที่ได้รับรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์จากเวทีประกวดนานาชาติ ในการฆ่าเชื้อโรคและป้องกันโรคติดต่อ (HAIs) สำหรับสถานพยาบาลและสถานพักฟื้นผู้สูงอายุ th_TH
dc.title.alternative Prototype fabrication of hydroxyl free radical fumigation developed from award-winning invention in preventing HAIs in healthcare facilities and nursing homes and filing this medical equipment in Thai invention database en
dc.type Research th_TH
dc.author.email anat@buu.ac.th th_TH
dc.author.email nopphon.we@buu.ac.th th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative Thai food industry has been the one of the key strategies for the success of Thailand 4.0 policy. The growth of Thai food export has been expanded constantly and the revenue of this sector is essential for the growth of Thailand’s economy. One of the pain points of this industry is the contamination of foodborne pathogens in the finished products which destroys the whole value chain by increasing the production cost and delaying of shipment. This situation directly affects the consumers’ trust on the export products from Thailand. Our prototype equipment of hydroxyl radical disinfection was innovated to sanitize the surfaces in the food processing lines. This invention utilizes the disinfectant aerosolization of hydroxyl free radicals generated from combined UV, ozone, and a hydroxyl radical precursor to effectively and rapidly inactivate all microbes on surfaces of fumigated areas. The only remaining residues are water and oxygen; in contrary, most available processing disinfecting techniques employs toxic and harsh chemicals which produce toxic residues to both human and environment and generates a lot of wastewater. This hydroxyl radical fumigation is a great idea for startup business and the equipment prototype can help upgrade food processing sanitation for food industry. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account