DSpace Repository

การพัฒนาการตรวจวัดกรดอะมิโนฮิสทิดีนด้วยเทคนิคการถูกแทนที่ของอินดิเคเตอร์บนอุปกรณ์แบบกระดาษ

Show simple item record

dc.contributor.author จอมใจ สุกใส
dc.contributor.author ยุภาพร สมีน้อย
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-01-24T08:35:39Z
dc.date.available 2020-01-24T08:35:39Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3743
dc.description.abstract ในงานวิจัยนี้ได้ใช้สารประกอบโคออร์ดิเนชันชนิดไดนิวเคลียร์ของคอปเปอร์ (II) กับลิแกนด์ที่เป็นอนุพันธ์ของคาลิกซ์[4]แอรีน (CuL) มาใช้ในการตรวจวัดกรดอะมิโนฮิสทิดีนด้วยเทคนิคการถูกแทนที่ของอินดิเคเตอร์ pyrocathechol violet (PV) ในสารละลายบัฟเฟอร์ของ HEPES ที่ pH 7.4 ในตัวทำละลายผสมของ 80:20 CH3CN/H2O ความจำเพาะเจาะจงในการตรวจวัดฮิสทิดีนด้วยวิธีนี้เป็นผลเนื่องมาจากการที่มีระยะห่างที่เหมาะสมระหว่าง Cu2+ ทั้งสองอะตอม เนื่องจากการที่สารประกอบ CuL มีโครงสร้างที่ไม่ยืดหยุ่นเนื่องจากมีคาลิกซ์[4]แอรีนที่มีรูปทรงแบบโคนเป็นองค์ประกอบภายในโมเลกุล นอกจากนี้แล้วความเกะกะของหมู่ไทรพอดเอมีนยังมีส่วนช่วยในการควบคุมระยะห่างระหว่างอะตอมของคอปเปอร์ทั้งสองอะตอมอีกด้วย นอกจากนี้ยังสามารถตรวจวัดกรดอะมิโนฮิสทิดีนบนอุปกรณ์กระดาษโดยใช้เอนเซมเบิล [CuL•PV] ได้ th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
dc.title การพัฒนาการตรวจวัดกรดอะมิโนฮิสทิดีนด้วยเทคนิคการถูกแทนที่ของอินดิเคเตอร์บนอุปกรณ์แบบกระดาษ th_TH
dc.title.alternative Development of Histidine Determination by Using Indicator Displacement Assay on Paper-Based Device en
dc.type Research th_TH
dc.author.email jomjai@buu.ac.th th_TH
dc.author.email yupaporn@buu.ac.th th_TH
dc.year 2561 th_TH
dc.description.abstractalternative Using a dinuclear copper(II) complex of p-tert-butylcalix[4]arene, CuL, that was found to have high affinity for histidine in 80:20 MeCN/water HEPES buffer solution at pH 7.4 by a colorimetric indicator displacement assay (IDA). Sensing is efficiently signaled through the displacement of the indicator pyrocatecholviolet (PV) form the ensemble [CuL•PV] cavity, monitoring its yellow color. Recognition selectivity is thus ascribed to the tuning of the distance between Cu2+-Cu2+ distance in the CuL structure by the inflexible structure of calix[4]arene scaffold in the cone conformation and steric hindrance between the two bulky tripodal amine parts. Moreover, the determination of His on paper based device using [CuL•PV] ensemble was also reported. en
dc.keyword อุปกรณ์ตรวจจับสารเคมี th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account