DSpace Repository

การศึกษาประสิทธิภาพของอุปกรณ์นำเข้าเข้ามูลสำหรับการสอบข้อเขียน-การเปรียบเทียบระหว่างอุปกรณ์การเขียนและอุปกรณ์การพิมพ์

Show simple item record

dc.contributor.author สุนันทา วงศ์จตุรภัทร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-10-15T01:30:30Z
dc.date.available 2019-10-15T01:30:30Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3700
dc.description.abstract การสอบวัดผลทางการเรียนการสอน เป็นกระบวนการประเมินผลที่มหาวิทยาลัยใช้เป็นเครื่องมือสำหรับการประเมินผลสมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งหากพิจารณาวิธีการสอบในลักษณะต่าง ๆ จะพบว่า การสอบวัดผลจะสามารถใช้อุปกรณ์อินพุตประเภทต่าง ๆ ได้ ซึ่งการวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาการใช้อุปกรณ์อินพุตแบบดิจิทัลที่อาจ มีผลกระทบต่อการใช้กล้ามเนื้อและนำไปสู่การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ ในการวิจัยนี้ได้ตรวจสอบการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อในขณะทำการสอบข้อเขียน ได้แก่ กล้ามเนื้อ trapezius (TRAP), biceps brachii (BB), flexor digitorum superficialis (FDS), extensor Carpi radialis brevis (ECRB) และกล้ามเนื้อ extensor digitorum Communis (EDC) โดยผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลสัญญาณไฟฟ้า กล้ามเนื้อ Electromyography ในขณะใช้อุปกรณ์ Boogie Board, Chromebook, iPad pro, Notebook Keyboard, ปากกากระดาษ และ Yoga Book กลุ่มตัวอย่างคือ โดยกลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษามหาวิทยาลัยจำนวน ยี่สิบคน ผลการวิจัยพบว่า Boogie Board และปากกาลูกลื่นทำให้เกิดการใช้งานกล้ามเนื้อมากที่สุด กล่าวคือ ในขณะใช้ Boogie Board และปากกาลูกลื่นกลุ่มตัวอย่างมีแนวโน้มที่จะกล้ามเนื้อ FDS และ ECRB มากที่สุด นอกจากนี้ Boogie Board ยังท าให้เกิดการใช้งานกล้ามเนื้อ BB เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่เมื่อเป็นการใช้ อุปกรณ์ Yoga Book พบว่ากลุ่มตัวอย่างใช้กล้ามเนื้อ TRAP, FDS และ EDC เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ในทาง ตรงกันข้าม Chromebook และ iPad pro ได้แสดงให้เห็นว่าการใช้กล้ามเนื้อ FDS และ EDC มีแนวโน้มลดลง อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามเมื่อกลุ่มตัวอย่างใช้พิมพ์บนคีย์บอร์ดคีย์บอร์ด จะพบว่าการใช้งานกล้ามเนื้อ BB, FDS และ ECRB น้อยลง ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าเมื่อการสอบวัดผลทางการเรียนการสอนที่อยู่ในรูปแบบของการเขียนคำบรรยายและแผนภาพ การใช้คีย์บอร์ดโน๊ตบุ๊คจึงอาจเป็นอินเตอร์เฟสที่เหมาะสมกว่าการเขียนด้วยลายมือ การค้นพบยังชี้ให้เห็นว่าอุปกรณ์การเขียนด้วยลายมือ ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อมากขึ้นและอาจนำไปสู่การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อในอนาคตเมื่อต้องเขียนด้วยลายมือเป็นเวลานาน ๆ th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ผสสัมฤทธิ์ทางการเรียน th_TH
dc.subject กล้ามเนื้อ th_TH
dc.title การศึกษาประสิทธิภาพของอุปกรณ์นำเข้าเข้ามูลสำหรับการสอบข้อเขียน-การเปรียบเทียบระหว่างอุปกรณ์การเขียนและอุปกรณ์การพิมพ์ th_TH
dc.title.alternative Performance study of input devices for generating writing with drawing tasks in written exams – a comparison between handwriting and typing devices en
dc.type Research
dc.author.email sununtharv@buu.ac.th th_TH
dc.year 2561
dc.description.abstractalternative Examinations are an assessment and evaluation tool at University. These can be performed using different types of input devices to complete them. This present study investigated whether using digital input devices affects muscle activation than a traditional input instrument. We monitored the Electromyography (EMG) activity of trapezius (TRAP), biceps brachii (BB), flexor digitorum superficialis (FDS), extensor carpi radialis brevis (ECRB) and extensor digitorum communis (EDC) muscle activity during generative writing with drawing tasks in written exams using Boogie Board, Chromebook, iPad pro, Notebook Keyboard, Ballpoint Pen, and Yoga Book. Twenty university students were included in this study. The results showed Boogie Board, and Ballpoint Pen used the most muscle activity. When using Boogie Board and Ballpoint Pen, participants had a trend of using FDS and ECRB muscle activity the most. Additionally, Boogie Board had consistently the greatest BB muscle activity. Moreover, when using the indirect input device, Yoga Book, participants had an indicating a trend of increasing in TRAP, FDS and EDC muscle activities. In contrast, Chromebook and iPad pro had showed consistently lower FDS and EDC muscle activities. However, when typing on the Notebook Keyboard, subjects had the least BB, FDS, and ECRB muscle activity. Therefore, when a long writing scenario is required, a Notebook Keyboard may be a more suitable interface, especially in education. The findings also suggest that handwriting devices have a greater potential energy expenditure in performing handwriting tasks and muscular damage with the maintenance of motor patterns in handwriting tasks en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account