DSpace Repository

การศึกษาสถานภาพและปัญหาของแนวปะการังโดยรอบเกาะเสม็ดเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวและฟื้นฟูแนวปะการังบริเวณเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง

Show simple item record

dc.contributor.author วิภูษิต มัณฑะจิตร th
dc.contributor.author สุวรรณา ภาณุตระกูล th
dc.contributor.author นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:45:43Z
dc.date.available 2019-03-25T08:45:43Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/36
dc.description.abstract การศึกษาโครงสร้างและสภาพความอุดมสมบูรณ์ของแนวปะการัง รวมถึงลักษณะการแพร่กระจายของปะการัง องค์ประกอบสิ่งมีชีวิตหน้าดิน และปลาในแนวปะการัง ทั้งสิ้น 14 สถานีรอบเกาะเสม็ดและเกาะที่อยู่ใกล้เคียง ดำเนินการเก็บข้อมูลภาคสนามในระหว่างเดือน สิงหาคม 2547 ถึงตุลาคม 2547 โครงสร้างของแนวปะการังบริเวณที่ทำการศึกษาทั้งหมดจัดเป็นแนวปะการังน้ำตื้นมีระดับการพัฒนาแนวปะการังไม่มากนัก ความกว้างของแนวปะการังอยู่ระหว่าง 50-80 เมตร ในช่วงเวลาน้ำลงต่ำสุดมีแนวปะการังบางส่วนโผล่พ้นน้ำ และสิ้นสุดที่ระดับความลึก 2-6 เมตร แนวปะการังบริเวณโซนพื้นราบ (reef flat) อยู่ในสภาพเสื่อมโทรมมาก ผลการสำรวจประชาคมปลาแนวปะการังจาก 14 สถานีพบปลารวม 99 ชนิดจาก 5 วงศ์ วงศ์ที่มีความหลากหลายมากที่สุดคือ Pomacentridae พบ 29 ชนิด รองลงมาคือ Labridae พบ 14 ชนิด, Serranidae กับ Apogonidae พบ 6 ชนิด และ Lutjanidae กับ Nemipteridae พบ 5 ชนิด สำหรับวงศ์ที่เหลือพบน้อยกว่า 5 ชนิด เมื่อพิจารณาความชุกชุมรวมของปลา พบ 8,315 ตัว ปลาที่พบมีความชุกชุมมากส่วนใหญ่อยู่ในวงศ์ Pomacentridae คือ Chromis artrus (2,131 ตัว), Neopomacentrus azyron (1,254 ตัว) และ N. filamentosus (1,138 ตัว) และที่พบมากกว่า 500 ตัว อยู่ในครอบครัว Apogonidae คือ Apogon cookii และ Archamia fucata จากผลสำรวจแนวปะการังรอบเกาะเสม็ดแสดงให้เห็นว่าแนวปะการังบริเวณเกาะเสม็ดมีลักษณะโครงสร้างและสภาพความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรแตกต่างกัน โดยศักยภาพในการใช้ประโยชน์จัดเป็นกลุ่มตามสภาพโครงสร้างและความอุดมสมบูรณ์ได้ 5 กลุ่ม ดังนี้ 1. จุดดำน้ำตื้นสภาพดี ได้แก่ อ่าวลูกโยน อ่าวเทียน (อ่าวลุงดำ) อ่าวหวาย อ่าวกิ่วหน้าใน 2. จุดดำน้ำลึกสภาพดี ได้แก่ อ่าวกะรัง เกาะจันทน์ แหลมพระ แหลมเรือแตก อ่าวเตย 3. จุดดำน้ำตื้นสภาพควรฟื้นฟู ได้แก่ อ่าวพร้าว 4. จุดดำน้ำลึกสภาพควรฟื้นฟู ได้แก่ หินขาว แหลมใหญ่ 5. จุดดำน้ำที่ควรปิดเพื่อการฟื้นฟู ได้แก่ อ่าววงเดือน อ่าวกิ่วหน้านอก th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2547 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject นิเวศวิทยาแนวปะการัง - - เกาะเสม็ด (ระยอง) - - วิจัย th_TH
dc.subject ปลาแนวปะการัง - - เกาะเสม็ด (ระยอง) - - วิจัย th_TH
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา. ภาควิชาวาริชศาสตร์ - - วิจัย th_TH
dc.subject ระยอง - - ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว th_TH
dc.subject แนวปะการัง - - เกาะเสม็ด (ระยอง) - - วิจัย th_TH
dc.subject เกาะเสม็ด (ระยอง) th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การศึกษาสถานภาพและปัญหาของแนวปะการังโดยรอบเกาะเสม็ดเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวและฟื้นฟูแนวปะการังบริเวณเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง th_TH
dc.title.alternative Coral reef status survey for tourism development and rehabilitation planning at Koh Samet, Rayong province en
dc.type งานวิจัย
dc.year 2548
dc.description.abstractalternative The study on the distribution and condition and assemblage structure of corals and reef fishes were carried out on 14 sites at Samet Islands, Rayong Province. Data was collected in the field during August 2004 to October 2004. All of the studied reefs are shallow water reefs with moderate development. The width of the reefs are 50 to 80 meter which reef flat may exposed during low tide. In general, reef flat are deteriorated while reef edge and reef slope are fair to good condition. For fishes, there were a total of 99 species belonging to 25 families found in the study area. The most diverse group of fish were, Pomacentridae (29 species), Labridae (12 species), Apogonidae and Serranidae (6 species each) and Lutjanidae and Nemipteridae (5 species each). All of remaining groups were found less than 5 species. When considered the abundance, Pomacentridae is the most abundance group, especially Chromis artrus (2,131), Neopomacentrus azyron (1,254) and N. filamentosus (1,138). Apogon cookie and Archamia fucata were also abundance I the study area. The results of this study show the difference on the structure and condition of reef assemblages. These reefs can be categorized depending on their potential of reef structure and condition into 5 groups as, 1. Good reef condition for snorkeling; Aow Luukyon, Aow Tian(Lung Dam), Aow Wai, and Aow Kiew Naa Nai. 2. Good reef condition for SCUBA diving; Aow Karang, Koh Jan, Laem Phra, Laem Ruea Taek and Aow Tuey. 3. Rehabilitation zone for snorkeling; Aow Phraow. 4. Rehabilitation zone for SCUBA diving; Koh Hin Khaw and Laem Yai. 5. Restriction area for conservation; Aow Wong Duean And Aow Kiew Naa Nok. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account