DSpace Repository

พันธุศาสตร์เซลล์ระดับโมเลกุลของปลาวงศ์อมไข่ (Family apogonidae)

Show simple item record

dc.contributor.author วรรณภา กสิฤกษ์
dc.contributor.author วีระยุทธ สุภิวงค์
dc.contributor.author ณัฐวุฒิ เหลืองอ่อน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned 2019-04-11T03:39:21Z
dc.date.available 2019-04-11T03:39:21Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3504
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพันธุศาสตร์เซลล์ระดับโมเลกุลด้วยเทคนิคฟลูออเรสเซนต์ อินซิทู ไฮบริไดเซชัน (FISH) ของปลาอมไข่ทั้ง 9 ชนิด ได้แก่ ปลาอมไข่ครีบยาว (Pterapogon kauderni) ปลาอมไข่ตาดา (Fibramia lateralis) ปลาอมไข่ตาแดง (Sphaeramia nematoptera) ปลาอมไข่ตาฟ้า ( Sphaeramia orbicularis) ปลาอมไข่นีออน (Zoramia leptacantha) ปลาอมไข่ขาว (Ambassis kopsii) ปลาอมไข่แถบกว้าง (Ostorhinchus fasciatus) ปลาอมไข่ซิดนีย์ (O. limenus) และปลาอมไข่แถบแดง (O. margaritophorus) โดยการเตรียมโครโมโซมจากอวัยวะส่วนไตของตัวอย่างปลาชนิดละ 10 ตัว นาโครโมโซมที่เตรียมได้ไปย้อมสีด้วยเทคนิคฟลูออเรสเซนต์ อินซิทู ไฮบริไดเซชัน (FISH) จานวน 2 โพรบ ได้แก่ โพรบเทโลเมียร์ และโพรบไรโบโซมอล อาร์ดีเอ็นเอ 18S ตรวจสอบสัญญาณเรืองแสงบนโครโมโซมในตาแหน่งที่จาเพาะต่อชนิดของปลาอมไข่ ผลการศึกษาพบว่าจานวนโครโมโซมดิพลอยด์ในปลาทั้ง 9 ชนิด เท่ากัน คือ 46 แท่ง สัญญาณของโพรบถูกพบบริเวณเทโลเมียร์ของโครโมโซมทุกแท่ง ผลการไฮบริไดซ์โพรบไรโบโซมอล 18S อาร์ดีเอ็นเอกับโครโมโซมของปลาอมไข่ทั้ง 9 ชนิด พบว่า ปลาอมไข่ครีบยาว (P. kauderni) ปลาอมไข่ตาดา (F. lateralis) ปลาอมไข่ตาแดง (S. nematotera) ปลาอมไข่ตาฟ้า (S. orbicularis) ถูกพบสัญญาณของโพรบไรโบโซมอล 18S อาร์ดีเอ็นเอบนโครโมโซมจานวน 2 แท่งซึ่งเป็นโครโมโซม ชนิดอะโครเซนทริก ตรงตาแหน่งใกล้กับเทโลเมียร์ของแขนข้างสั้น ส่วนปลาอมไข่นีออน (Z. leptacantha) ปลาอมไข่ขาว (A. kopsii) ปลาอมไข่แถบกว้าง (O. fasciatus) ปลาอมไข่ซิดนีย์ (O. limenus) และปลาอมไข่แถบแดง (O. margaritophorus) ตรวจไม่พบตาแหน่งของยีน ไรโบโซมอล 18S อาร์ดีเอ็นเอบนโครโมโซม th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ปลาอมไข่ th_TH
dc.subject เซลล์พันธุศาสตร์ th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title พันธุศาสตร์เซลล์ระดับโมเลกุลของปลาวงศ์อมไข่ (Family apogonidae) th_TH
dc.title.alternative Molecular cytogenetics of cardinalfishes (Family apogonidae) en
dc.type Research
dc.author.email wannapa@buu.ac.th th_TH
dc.author.email weersu@kku.ac.th th_TH
dc.author.email nattawut@buu.ac.th th_TH
dc.year 2561
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study molecular cytogenetics by Fluorescence in situ Hybridization technique (FISH) using telomeric and 18S rDNA probes by analysing 9 fish species in family Apogonidae. Ten samples of each species such as Banggai cardinalfish (Pterapogon kauderni), Humpblack cardinalfish (Fibramia lateralis), Pajama cardinalfish (Sphaeramia nematoptera), Orbiculate cardinalfish (S. orbicularis), Threadfin cardinalfish (Zoramia leptacantha), Ambassis kopsii, Broadband cardinalfish (Ostorhinchus fasciatus), Sydney cardinalfish (O. limenus) and Red striped cardinalfish (Ostorhinchus margaritophorus) were taken the kidney cells for preparing chromosomes. FISH staining technique was applied to stain the chromosomes by using telomeric probe and 18S rDNA probe. Fluorescent signals were examined on the specific position of chromosome that particular species of cardinalfishes. The result showed that the diploid chromosome of nine studied fish species in Family Apogonidae was 2n=46. FISH with the telomeric probe presented signals of hybridization on each telomere of all chromosomes. For the 18S rDNA probe mapping, only 4 of 9 studied fish species were found the hybridization signal as P. kauderni, F. lateralis, S. nematoptera, and S. orbicularis, but on the other hand the others were not found the signal of hybridization. The appearance of the signal was terminally located on the short arm adjacent to telomere of the single pair en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account